52506662483_06aa0e5e3f_o
อ่าน

RECAP 112 : ชวนรู้จักคดี ป้ายผ้า “งบสถาบันกษัตริย์ > วัคซีน COVID 19”

(1) ย้อนกลับไปในช่วงที่สถานการณ์ COVID-19 กำลังระบาดรุนแรงเมื่อปี 2563 และการเข้าถึงวัคซีนของประชาชนในประเทศยังคงไม่ทั่วถึง ในวันที่ 30 ธันวาคม 2563 เฟซบุ๊กเพจกลุ่มพิราบขาวเพื่อมวลชนก็ได้โพสต์ภาพป้ายผ้าดิบขนาดใหญ่ที่เขียนข้อความด้วยสีดำและแดงว่า “งบสถาบันกษัตริย์>วัคซีนCOVID19” โดยป้ายดังกล่าวถูกแขวนอยู่บนสะพานรัษฎาภิเศก หรือ “สะพานขาว” สถานที่ซึ่งเป็นเสมือนแลนด์มาร์กของจังหวัดลำปาง (2) ในคดีนี้ เจ้าหน้าที่ใช้วิธี “เข้าตรวจค้น” ก่อนที่หมายเรียกคดีจะเดินทางมาถึงตามกระบวนการ โดยในเวลาไม่ถึงหนึ่งเดือนหลังภาพดั
51924088391_7a9e0c4669_o
อ่าน

ไหม ธนพร: พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ไม่เคยคุมโรค คุมแค่เพียงความทุกข์ยากของแรงงาน

  ไหม-ธนพร วิจันทร์ นักเคลื่อนไหวด้านสิทธิแรงงานเป็นหนึ่งในผู้ถูกดำเนินคดีฐานฝ่าฝืนพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ก่อนหน้าเดือนตุลาคม 2564 เราพบว่า คดีของเธอมีไม่น้อยกว่าเจ็ดคดี จากนั้นผ่านมาเพียงสี่เดือนเท่านั้น คดีของเธอเพิ่มขึ้นเป็น 17 คดี เธอไล่เรียงแต่ละคดีด้วยน้ำเสียงมั่นอกมั่นใจว่า ข้อกล่าวหาดังกล่าวมาจากเหตุใดบ้าง มี 15 คดีที่เป็นคดีความในการชุมนุมที่เกี่ยวข้องกับการเมืองและการเคลื่อนไหวของราษฎร ส่วนอีกสองคดีเป็นคดีชุมนุมของแรงงาน  
51704155753_a617f05347_o
อ่าน

รวม “ครั้งแรก” ของการชุมนุมเพื่อประชาธิปไตยปี 2564

    2564 นับเป็นปีที่สองของการเคลื่อนไหวชุมนุมที่นำโดยคนรุ่นใหม่ ต่อต้านระบอบการปกครองของ คสช.​ การต่อสู้มีความท้าทายมากขึ้นจากข้อจำกัดในเรื่องสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด 19 อันทำให้การขยับขยายฐานผู้ชุมนุมบนท้องถนนพบอุปสรรคมากขึ้น และการยกระดับการปราบปรามของรัฐตั้งแต่เริ่มการชุมนุมไปจนหลังการชุมนุม แต่ผู้ชุมนุมก็ยังคงเดินหน้าหาวิธีการและรูปแบบเพื่อแสดงออกต่อไป โดยปรับตัวไปตามสถานการณ์ ตามข้อจำกัดและความรุนแรงทางการเมืองที่เสี่ยงต่อช
51499360603_34c99dbf67_o
อ่าน

‘ได้หมาย YOUNG’ EP.2 คุยกับสี่นักกิจกรรม กลุ่ม ‘Free People 101 – สหภาพร้อยเอ็ดปลดแอก’ และ ‘เฟมินิสต์ปลดแอกภาคอีสาน’

การลุกฮือของภาคประชาชนในปี 2563 ส่งผลให้มีกลุ่มเครือข่ายเยาวชนที่สนใจทำกิจกรรมทางการเมืองตามแต่ละภูมิภาคในไทยเกิดขึ้นมากมาย อย่างไรก็ตาม เยาวชนเหล่านี้กลับต้องเผชิญหน้ากับความเสี่ยงในการถูกดำเนินคดี รวมทั้งถูกคุกคามจากเจ้าหน้าที่รัฐในหลากหลายรูปแบบ 20 กันยายน 2564 รายการ ‘ได้หมาย Young EP.2’ พาไปร่วมพูดคุยกับเยาวชนจากจังหวัดร้อยเอ็ดที่ได้รับหมายคดีจากการทำกิจกรรมทางการเมืองจำนวนสี่คน ได้แก่ ไอคอน กับ ฟิล์ม จากกลุ่มเฟมินิสต์ปลดแอกภาคอีสาน และ ปั๊ก กับ โอเว่น จากกลุ่ม ‘Free People 101 – สหภาพร้อยเอ็ดปลดแอก’ ดำเนินรายการโดย ดวงทิพย์ ฆารฤทธิ์   <
51304691516_4c77c7f3fe_o
อ่าน

ข้อกำหนดฉบับ 27 ห้ามโพสต์สร้างความหวาดกลัวแม้เป็นความจริง โทษ 2 ปี ปรับ 40,000 บาท

    12 กรกฎาคม 2564 เป็นวันแรกของการบังคับใช้ข้อกำหนดนายกรัฐมนตรีที่ออกตามความในมาตรา 9 ของพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ฉบับที่ 27 ซึ่งเป็นฉบับที่เพิ่มความเข้มงวดของข้อห้ามต่างๆ ท่ามกลางสถานการณ์ที่พบผู้ติดเชื้อโควิดรายวันหลัก 9,000 คน และระบบสาธารณสุขของประเทศไม่อาจรองรับสถานการณ์ได้ มาตรการห้ามออกนอกเคหสถานในเวลากลางคืนถูกนำมาใช้อีกครั้ง พร้อมกับการสั่งปิดตลาด ร้านอาหาร ห้างสรรพสินค้า ในเวลา 20.00 น.    
51250403848_5c687296bf_o
อ่าน

โควิดระลอกสาม : การคุกคามและคดีความที่เกี่ยวเนื่องกับการเรียกร้องในสถานการณ์โควิด 19

        เข้าสู่ปีที่สองของการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ที่ผ่านมาไทยเผชิญกับไวรัสดังกล่าวสามระลอกคือ ระลอกหนึ่งและสอง ในเดือนมีนาคมและธันวาคม 2563 และระลอกสาม ในเดือนเมษายน 2564  ซึ่งเป็นช่วงที่มีผู้ติดเชื้อและผู้เสียชีวิตมากที่สุด ประเด็นที่ถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างต่อเนื่องคือ การเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจาก
Chatchawan Suksomjit
อ่าน

รวมความเห็นคนร่าง #พรบคอม ย้ำ ไม่ให้ใช้ฟ้องหมิ่นประมาทแล้ว

พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ฉบับใหม่ มีผลใช้แล้ว โดยมีเนื้อหาหลายส่วนดูจะเปิดกว้างให้ดำเนินคดีต่อการแสดงความคิดเห็นได้มากขึ้น ขณะที่คนร่างกฎหมายเอง ยืนยัน แก้ไขครั้งนี้ห้ามเอามาใช้กับหมิ่นประมาทเด็ดขาด จึงรวมปากคำคนร่างเอาไว้ เผื่อใครจะใช้เป็นหลักฐานเพื่อต่อสู้คดี
อ่าน

ท้ากสทช. ถ้าแพ้คดี เอาตำแหน่งเป็นเดิมพัน

ผจก.วิทยุจุฬาฯ ชี้ กสทช.ฟ้องหมิ่นสื่อ เท่ากับทำลายระบบการกำกับดูแลตนเองของสื่อ ท้าเดิมพันตำแหน่งของกสทช. หากศาลตัดสินว่าสื่อไม่มีความผิด นักกฎหมายชี้เป็นสิทธิในการฟ้อง แต่ไม่ควรใช้