52404466625_483c02b5a6_o
อ่าน

112 ALERT! เปิดแฟ้ม “สุริยศักดิ์” คดีส่งข้อความผ่าน Line ก่อนพิพากษา

(1) สุริยศักดิ์ ฉัตรพิทักษ์กุล เป็นอดีตแกนนำนปช. ชาวจังหวัดสุรินทร์ ประกอบอาชีพค้าขาย ขณะถูกจับกุมอายุ 49 ปี คดีมาตรา 112 ของเขาเกิดขึ้นในยุค คสช. และเกิดขึ้นระหว่างการ “เอาพลเรือนขึ้นศาลทหาร” เริ่มแรกคดีนี้จึงอยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษาของ “ศาลทหาร” ที่ผู้พิพากษาทุกคนเป็นทหาร (2) ย้อนกลับไปในวันจับกุมเมื่อ 18 มีนาคม 2560 เวลาประมาณ 06.00 น.
70658238_2503574079734490_788837732515315712_n
อ่าน

ย้อนดูมหากาพย์คดี “ศูนย์ปราบโกงประชามติ” หลังศาลแขวงราชบุรีสั่งยกฟ้องคดีสุดท้าย 23 กันยายน 2562

รัฐธรรมนูญฉบับปี 2560 ที่บังคับใช้ในปัจจุบัน นับเป็นฉบับที่ 2 ในประวัติศาสตร์การเมืองไทยที่มีการประกาศใช้ หลังการออกเสียงประชามติ เท่ากับว่ารัฐธรรมนูญที่มีที่มาจากการรัฐประหารสองฉบับสุดท้ายได้แก่ ฉบับปี 2550 และฉบับปี 2560 ต่างประกาศใช้หลังการลงประชามติของประชาชนทั้งสองฉบับ อย่างไรก็ตามบรรยากาศการรณรงค์ประชามติร่างรัฐธรรมนูญทั้งสองฉบับกลับแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง 
IMG_0714
อ่าน

อำลาศาลทหาร: เสียงจากจำเลยคดีการเมืองเล่าถึงประสบการณ์ศาลทหาร

13 สิงหาคม 2562 เป็นวันสุดท้ายที่ศาลทหารกรุงเทพโอนคดีของพลเรือนกลับสู่ศาลพลเรือน การโอนคดีดังกล่าวเป็นผลมาจากคำสั่งหัวหน้าคสช.
แถลงค้าน ร่าง พ.ร.บ.สิ่งแวดล้อมฯ ฉบับใหม่ ไม่แก้ปัญหาและขัดจุดประสงค์การทำ EIA
อ่าน

แถลงค้าน ร่าง พ.ร.บ.สิ่งแวดล้อมฯ ฉบับใหม่ ไม่แก้ปัญหาและขัดจุดประสงค์การทำ EIA

ตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จัดทำร่างแก้ไขพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 หรือ พ.ร.บ.สิ่งแวดล้อมฯ ฉบับใหม่เสร็จสิ้น และส่งต่อให้เข้าสู่การพิจารณาของ สนช. ไปแล้วนั้น วันที่ 7 ธันวาคม 2560 ที่ศูนย์ประชุมพญาไทพลาซ่า จึงมีการจัดเสวนาเรื่อง “วิเคราะห์ ร่าง พ.ร.บ. สิ่งแวดล้อม กับ เจตนารมณ์ตามรัฐธรรมนูญ 2560” โดยมีผู้ร่วมพูดคุยประกอบด้วย ดร.สมิทธ์ ตุงคะสมติ อาจารย์วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต, ดร.ไชยณรงค์ เศรษฐเชื้อ อาจารย์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, รศ.ดร.เรณู เวชรัชต์พมิล เครือข่ายนักวิชาการ EHIA อดีตอาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 

ร่าง พ.ร.บ.แร่ “รัฐไม่ต้องเผยข้อมูล หากกระทบความมั่นคง”

ร่าง พ.ร.บ.แร่ เข้าสู่วาระการประชุม สนช. 11 มี.ค.59 เป็นการปรับปรุง พ.ร.บ.แร่ พ.ศ.2510 และ พ.ร.บ.พิกัดอัตราค่าภาคหลวงแร่ พ.ศ.2509 เหตุผลการแก้ไขเนื่องจากเนื้อหากฎหมายเดิมบางส่วนไม่เหมาะสมกับปัจจุบัน แม้มีการแก้ไขแต่เนื้อหาหลายส่วนยังคงมีปัญหา เพราะดูจะเอื้อประโยชน์ให้กับนายทุนมากกว่า  
Article 44
อ่าน

วงเสวนาชี้ รัฐใช้มาตรา 44 พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ข้ามขั้นตอนศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม

วงเสวนาชี้ รัฐใช้มาตรา 44 พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษกระทบชาวบ้านหนัก และไม่กระตุ้นเศรษฐกิจเพราะนักลงทุนไม่กล้าเข้ามาเกรงมีปัญหากับชาวบ้าน ขณะที่เอ็นจีโอกังวลว่ารัฐอาจใช้มาตรา 44 ซ้ำ เพื่อจัดทำผลกระทบสิ่งแวดล้อมให้ง่ายขึ้น และห้ามชาวบ้านโต้แย้งสิทธิในที่ดิน