53296789158_65662a6334_k
อ่าน

รอการลงโทษจำคุกเบนจา 2 ปี คดี 112 กรณีอ่านแถลงการณ์แนวร่วมมธ. ฉ.2 ศาลชี้เห็นควรให้โอกาสจำเลยกลับตัว

30 ตุลาคม 2566 ศาลอาญากรุงเทพใต้นัดเบนจา อะปัญ อดีตนักกิจกรรมแนวร่วมธรรมศาสตร์และการชุมนุมฟังคำพิพากษาคดีมาตรา 112  ที่เธอถูกกล่าวหาว่าปราศรัยและอ่านแถลงการณ์แนวร่วมธรรมศาสตร์และการชุมนุมฉบับที่สอง เรื่อง นายทุน-ขุนศึก-ศักดินา และการเมืองหลังระบบประยุทธ์ ระหว่างคาร์ม็อบวันที่ 10 สิงหาคม 2564 โดยที่เนื้อหาบางตอนของแถลงการณ์พาดพิงและก่อให้เกิดความเสียหายกับพระมหากษัตริย์ โดยศาลพิพากษาว่าเบนจามีความผิด ให้ลงโทษจำคุกในความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 เป็นเวลา 3 ปี และในความผิดฐานร่วมการชุมนุมฝ่าฝืนข้อกำหนดตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ จำคุก 1 ปี กับปรับ 12,000 บาท  เนื่องจากเบนจาให้การเป็นปร
53262154719_78f9d85621_k
อ่าน

Recap คดีดูหมิ่นศาล กรณีนักกิจกรรมปราศรัยเรียกร้องสิทธิการประกันตัวนักโทษการเมืองที่ศาลอาญา

1. วันที่ 17 ตุลาคม 2566 ศาลอาญานัด ณัฐชนน ไพโรจน์ เบนจา อะปัญ และสมยศ พฤกษาเกษมสุข ฟังคำพิพากษาในคดีดูหมิ่นศาลตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 198 จากกรณีที่ทั้งสามร่วมชุมนุมและปราศรัยที่หน้าศาลอาญาเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2564 เพื่อเรียกร้องสิทธิในการปล่อยตัวชั่วคราวให้กับจำเลยคดีการเมืองรวมทั้งคดีมาตรา 112 ที่ถูกคุมขังอยู่ในขณะนั้น
Special power granted to the executive branch
อ่าน

เทียบ “อำนาจพิเศษ” ต่างประเทศใช้รับมือโควิด ไทยโดดเด่นที่ตัดการตรวจสอบ

อำนาจพิเศษเป็นสิ่งที่หลายประเทศเลือกใช้เมื่อต้องเจอกับโรคระบาดเพื่อให้ฝ่ายบริหารมีอำนาจมากขึ้นในการออกมาตรการ แต่เมื่อเทียบไทยกับต่างประเทศ ต่างประเทศยังคงเปิดช่องทางให้รัฐสภาและตุลาการทางปกครองเข้ามาถ่วงดุลอำนาจของฝ่ายบริหารได้ ซึ่งจะช่วยรับรองว่า อำนาจพิเศษที่ออกมาเพื่อควบคุมสถานการณ์โควิดจะไม่ถูกนำไปใช้ในทางที่ผิด
Two years of Emergency
อ่าน

สองปี พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ หยุดอ้างโรคระบาด รักษาอำนาจให้ประยุทธ์

ชวนลงชื่อยกเลิกการใช้พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ หยุดอ้างโควิด ปิดปากประชาชน เกือบสองปีแล้วที่อ้างสถานการณ์โรคระบาด ใช้กฎหมายพิเศษ และรวบอำนาจไว้ในมือของพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ชัดเจนขึ้นเรื่อยๆ ว่า พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ มีเอาไว้เพื่อรักษาอำนาจทางการเมือง มากกว่าเพื่อการควบคุมโรค 
NGO testing the constitutionality of the emergency decree
อ่าน

ครช. ฟ้องศาลรัฐธรรมนูญ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ขัดต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่

คณะรณรงค์เพื่อรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน (ครช.) เข้ายื่นคำร้องกับศาลรัฐธรรมนูญ ขอให้วินิจฉัยว่าพระราชกำหนดการบริหารราชการแผ่นดินในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 (พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ) ชอบด้วยรัฐธรรมนูญหรือไม่
-ควบคุมตัว
อ่าน

กฎอัยการศึก-พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ อำนาจพิเศษควบคุมตัวคนได้ 7 วัน

การจับกุม และควบคุมตัวบุคคลจะอยู่ภายใต้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา หรือ ป.วิอาญาฯ แต่อย่างไรก็ดี กฎหมายที่ให้อำนาจเจ้าหน้าที่รัฐในการควบคุมตัวบุคคลที่ต้องสงสัยว่ากระทำความผิด ไม่ได้มีแค่ ป.วิอาญาฯ แต่ยังมีกฎหมายพิเศษด้านความมั่นคงอีก เช่น พ.ร.บ.กฎอัยการศึก หรือ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน 
อ่าน

“ยกเว้นความรับผิด-ไม่ให้ขึ้นศาลปกครอง” ลักษณะสำคัญของอำนาจพิเศษตาม คำสั่งหัวหน้า คสช.

คำสั่งหัวหน้า คสช. ที่ออกตามมาตรา 44 อย่างน้อย 4 ฉบับ ยกเว้นความรับผิดให้เจ้าหน้าที่รัฐที่ทำงานตามคำสั่งนั้นๆ ไม่ให้ถูกตรวจสอบโดยศาลปกครอง ไม่ต้องรับผิดทางแพ่ง ทางอาญา และทางวินัย ถ้าได้กระทำไปโดยสุจริต อำนาจลักษณะนี้แทบจะเป็นเรื่องปกติไปแล้วในยุค คสช.
reseave military bill
อ่าน

รด.ไม่ช่วยอะไร เมื่อเจอกฎหมายกำลังพลสำรอง

สนช.ร่าง พ.ร.บ.กำลังพลสำรอง โดยเนื้อหาให้ทหารกองหนุน กลับมาฝึกวิชาทหารอีกครั้งพื่อการเตรียมความพร้อมในกิจการของกระทรวงกลาโหม โดยหากฝ่าฝืนไม่เข้ารับราชการทหารมีโทษสูงสุดติดคุกสี่ปี ในส่วนของนายจ้างหากไม่จ่ายค่าจ้างให้ลูกจ้างซึ่งต้องรับราชการทหารในวันลามีโทษปรับสองหมื่นบาท
อ่าน

‘จับมั่ว-จับไม่เลือก’ มองสถานการณ์ฉุกเฉินปี 57 จากบทเรียน พฤษภา 53

รัฐบาลประกาศพ.ร.ก.ฉุกเฉินร้ายแรง ทำให้หลายฝ่ายหวั่นวิตกจะกระทบสิทธิประชาชน ขณะที่บางคนก็เชื่อว่าหากเชื่อฟังกฎหมาย ไม่ได้ทำผิด คงไม่กระทบอะไร iLaw คุยกับคนที่ติดตามคดีพ.ร.ก.ฉุกเฉินสมัยปี 2553 ให้เห็นภาพว่านอกจากคนร้ายที่กฎหมายมุ่งจัดการแล้ว กฎหมายนี้จะกระทบคนทั่วไปอย่างไร