The Most Illustrious Order of Chula Chom Klao Bill
อ่าน

ร่างพ.ร.บ.เครื่องราชฯ ตกไปแม้เคยผ่านสภา เหตุพระมหากษัตริย์ทรงวีโต้และรัฐสภามีมติไม่ยืนยัน

6 กันยายน 2565 รัฐสภามีมติไม่ยืนยันร่างพ.ร.บ.เครื่องราชฯ ที่พระมหากษัตริย์ทรงวีโต้ด้วยคะแนนเสียงไม่เห็นด้วย (ไม่ยืนยัน) 431 เสียง เห็นด้วย (ยืนยัน) 1 เสียง งดออกเสียง 28 เสียง ไม่ลงคะแนนเสียง 1 ด้วย จึงเป็นอันตกไป 
90 years revolution
อ่าน

90 ปี อภิวัตน์สยาม: พระราชอำนาจจากรัฐธรรมนูญฉบับแรกจนถึงฉบับปัจจุบัน

หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิ.ย. 2475  รัฐธรรมนูญแต่ละฉบับ จัดสรรพื้นที่ของพระราชอำนาจแตกต่างกัน บางฉบับกำหนดพระราชอำนาจบางเรื่องไว้จำกัด บางฉบับกำหนดแตกต่างจากรัฐธรรมนูญฉบับอื่นๆ อย่างมีนัยสำคัญ จนน่าตั้งคำถามว่า 90 ปีที่ผ่านมา ประเทศไทยอยู่ภายใต้ระบอบประชาธิปไตยตามที่คณะราษฎรวาดฝันไว้หรือไม่
The Most Illustrious Order of Chula Chom Klao Bill
อ่าน

รัฐสภานัดถกร่างพ.ร.บ.เครื่องราชฯ หลังพระมหากษัตริย์ไม่ลงพระปรมาภิไธยภายใน 90 วัน

9-10 มิ.ย. 2565 ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา มีนัดปรึกษาร่างพ.ร.บ.เครื่องราชฯ ซึ่งนายกฯ ได้นำร่างขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยเมื่อ 31 มกราคม 2565 แต่พระมหากษัตริย์ไม่ได้ลงพระปรมาภิไธยภายใน 90 วัน และไม่ได้พระราชทานร่างกฎหมายคืนกลับมา
Royal Veto on Bill and Constitutional Amendment
อ่าน

กษัตริย์มีอำนาจ Veto ร่างกฎหมาย แต่ไม่มีอำนาจ Veto แก้รัฐธรรมนูญ

หลังจากร่าง #แก้รัฐธรรมนูญ ผ่านความเห็นชอบของรัฐสภา เมื่อ 10 กันยายน 2564 เป็นครั้งแรกที่รัฐธรรมนูญ 2560 แก้ไขสำเร็จ นายกฯ ได้นำร่างขึ้นทูลเกล้าฯ แล้วเมื่อ 4 ตุลาคม 2564 มีประเด็นต่อมาว่าพระมหากษัตริย์ทรงมีพระราชอำนาจในการยับยั้ง (Veto) ร่าง #แก้รัฐธรรมนูญ หรือไม่ 
The royal agencies
อ่าน

“ส่วนราชการในพระองค์” : คสช. สร้างหน่วยงานพิเศษที่ตรวจสอบไม่ได้ ทำลายระบอบประชาธิปไตยฯ

ทำความรู้จักกับ "ส่วนราชการในพระองค์" องค์กรที่ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ ถือกำเนิดจากกฎหมายสามฉบับที่ออกในยุค คสช. ถึงแม้จะรับงบประมาณจากรัฐ แต่ไม่ใช่ส่วนราชการ ไม่ใช่หน่วยงานของรัฐ ระบบกฎหมายอื่นเข้าไปตรวจสอบไม่ได้ 
38 Articles
อ่าน

เปิด 38 มาตรา แค่มีคำว่า “พระมหากษัตริย์” ก็จะคว่ำร่างรัฐธรรมนูญ

การพิจารณา #แก้รัฐธรรมนูญ วาระสอง ส.ว.บางรายได้ทิ้งประเด็นเกี่ยวพระราชอำนาจ 38 มาตรา นอกเหนือหมวด 2 ไว้ ซึ่งกลายเป็นเงื่อนไขสำคัญของ ส.ว. ใช้เป็นข้ออ้างในการคว่ำ #แก้รัฐธรรมนูญ ในวาระสาม โดยทั้ง 38 มาตรานั้น ล้วนมี keyword ที่ปรากฏในบทบัญญัติ คือ คำว่า พระมหากษัตริย์
comparative of the constitutions chapter 2: the king
อ่าน

จาก 40 ถึง 60 เปรียบเทียบบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ หมวดพระมหากษัตริย์

เมื่อย้อนดู หมวด 2 พระมหากษัตริย์ที่กำลังกลายเป็นประเด็นต้องห้ามแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 ก็ได้กำหนดแตกต่างจากอดีต เรียกได้ว่าการแก้ไขหมวด 2 มีมาอย่างต่อเนื่องก่อนหน้านี้ และมีลักษณะเป็นการขยายพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ให้เพิ่มมากขึ้นกว่าในอดีต
IMG_1370
อ่าน

ต้องชัดเจนและคุ้มครองสิทธิ ดูบทเรียนจากต่างประเทศเพื่อพัฒนากฎหมาย ‘ละเมิดอำนาจศาล’

ในช่วงเวลาประมาณสิบปีที่ผ่านมา สถาบันศาลเข้ามามีบทบทในพื้นที่สาธารณะโดยเฉพาะในการเมืองไทยมากขึ้น เพราะท่ามกลางความขัดแย้งทางการเมือง การใช้สิทธิทางศาลถือเป็นวิธีการหนึ่งที่คู่ขัดแย้งทางการเมืองเลือกเดินเพื่อต่อสู้กับฝ่ายตรงข้าม เช่น การฟ้องคณะรักษาความสงบแห่งชาติ(คสช.) ในความผิดฐานกบฎต่อศาลอาญา โดยคนที่ไม่เห็นด้วยกับการรัฐประหาร การฟ้องศาลแพ่งให้เพิกถอนการประกาศพ.ร.ก.ฉุกเฉินของรัฐบาลยิ่งลักษณ์ชินวัตร รวมทั้งยังมีกรณีที
Royal Observations
อ่าน

จับกระแส “แก้ไขร่างรัฐธรรมนูญ” ตามที่พระมหากษัตริย์พระราชทานข้อสังเกต

6 เมษายน 2560 จะมีพิธีพระราชทานรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ 20 นับตั้งแต่เปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตย พ.ศ. 2475 รัฐธรรมนูญฉบับนี้ผ่านการทำประชามติเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2559 และผ่านการแก้ไขตามข้อสังเกตพระราชทาน 3-4 เรื่อง ก่อนที่จะมีการประกาศใช้ 
อ่าน

รัฐธรรมนูญ(ชั่วคราว)’57 สองปีแก้สี่ครั้ง

ระยะเวลาประมาณ 2 ปี 5 เดือน รัฐธรรมนูญชั่วคราว พ.ศ. 2557 ของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ถูกแก้ไขเพิ่มเติมไปแล้วทั้งสิ้น 4 ครั้ง ทุกครั้งใช้เวลาเพียงวันเดียวในการให้ความเห็นชอบ เมื่อเทียบกับรัฐธรรมนูญถาวรเรียกว่า แก้ได้ง่ายกว่ามาก และเมื่อเทียบกับรัฐธรรมนูญชั่วคราวด้วยกันยังไม่มีข้อมูลว่า ในอดีตเคยมีฉบับไหนมีการแก้ไขเพิ่มเติมบ้าง