senate
อ่าน

ทำความรู้จัก ส.ว.ชุดใหม่ พร้อมที่มาแบบใหม่โดยการให้ “เลือกกันเอง”

ส.ว.แต่งตั้งชุดพิเศษ 250 คน ใกล้จะหมดวาระในช่วงกลางปี 2567 และส.ว.ชุดใหม่ที่มาแบบใหม่เป็นส.ว.ตามบทหลักภายใต้รัฐธรรมนูญปี 2560 จะเข้ามาปฏิบัติหน้าที่ต่อในฐานะสภาสูง แม้อำนาจตามบทเฉพาะกาล เช่น การเลือกนายก​​ฯ ร่วมกับส.ส. นั้นจะสิ้นผลไปตามส.ว.แต่งตั้งชุดแรก แต่อำนาจหลักอื่นๆ ยังคงมีอยู่เต็มมือ
Timeline before electing PM
อ่าน

เปิดไทม์ไลน์หลังเลือกตั้ง 2566! อีกกี่วันคนไทยถึงได้รัฐบาลใหม่

การเลือกตั้ง 2566 ที่เพิ่งเสร็จสิ้นไปเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2566 เวลา 17.00 น. ไม่ได้แปลว่าคนไทยจะได้พบกับการบริหารประเทศของผู้ชนะการเลือกตั้งครั้งนี้ในทันที แต่อาจจะกินเวลาประมาณ 65 วัน
อ่าน

เลือกตั้งมีสิทธิ์เลื่อน ถ้า สนช. ยื่นศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย กฎหมาย ส.ว.

แม้ สนช. จะลงมติเห็นชอบร่าง พ.ร.ป.ว่าด้วยการได้มาซึ่งวุฒิสภา พ.ศ ไปแบบเอกฉันท์ แต่ทว่าการเลือกตั้งตามโรดแมปก็ยังไม่นิ่ง และมีเหตุให้ต้องเลื่อนหากสนช. ยื่นเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า กฎหมาย ส.ว. ทั้งฉบับขัดต่อรัฐธรรมนูญ รวมถึงหากศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัยให้กฎหมาย ส.ว. มีอันต้องตกไปทั้งฉบับ ก็มีแนวโน้มที่จะต้องร่างกฎหมาย ส.ว. กันใหม่อีกครั้ง
อ่าน

กมธ.ร่วมฯ พิจารณากฎหมายลูก ส.ส. คงกติกาห้ามจัดมหรสพ ผู้สมัครพรรคเดียวกันลงหลายเขตใช้คนละเบอร์

ประเด็นที่เป็นปัญหาใน ร่าง พ.ร.ป.ว่าด้วยที่มา ส.ส.ฯ คณะกรรมาธิการร่วมสามฝ่ายที่ประกอบไปด้วยตัวแทนจาก สนช. กรธ. และประธาน กกต. มีมติร่วมกัน ในประเด็นสำคัญ คือห้ามจัดมหรสพ ผู้สมัครพรรคเดียวกันลงหลายเขตใช้คนละเบอร์
organic bill
อ่าน

ติดตามร่างกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ

ติดตามร่างกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ ทั้งเนื้อหาร่างกฎหมาย สรุปร่างกฎหมาย และสถานะกฎหมายล่าสุด
electoral bill
อ่าน

จับตากฎหมายลูก: พ.ร.ป.เลือกตั้งฯ ร่างแรกให้อำนาจ กกต. มากขึ้น แต่ไร้การถ่วงดุล

ร่าง พ.ร.ป.ว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เป็นหนึ่งในกฎหมายที่ กกต. ส่งร่างให้กับ กรธ. เมื่อ 19 กันยายน 2559 โดย สมชัย ศรีสุทธิยากร กกต. ให้คำอธิบายร่างกฎหมายอย่างกระชับๆ ว่า ฉบับ "4 ปฏิรูป" ปฏิรูปการรับสมัคร การหาเสียง การใช้สิทธิ และการประกาศผล