privy councillor appointed
อ่าน

รัฐธรรมนูญเขียนชัด องคมนตรีตั้งตามพระราชอัธยาศัย ต้องมีผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ

เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2566 รัชกาลที่ 10 โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นองคมนตรี โดยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งไม่ปรากฏว่ามีผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ ทั้งๆ ที่ในรัฐธรรมนูญ 2560 มาตรา 11 กำหนดผู้ลงนามรับสนองฯ ไว้อย่างชัดเจน
privy councilor
อ่าน

องคมนตรี รัฐประหาร กับบทบาทใหม่ของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา

วันที่ 29 พฤศจิกายน 2566 ราชกิจจานุเบกษา ได้ประกาศพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งพลเอกประยุทธ์เป็นองคมนตรี ทำให้ชื่อของพลเอกประยุทธ์กลับมาเป็นที่กล่าวถึงอีกครั้งในบทบาทใหม่ที่ทำงานใกล้ชิดกับพระมหากษัตริย์มากยิ่งขึ้น
52657790482_d667624102_o
อ่าน

112 ALERT! ชวนเปิดแฟ้มคดี “ป้ายผ้าลำปาง” ก่อนพิพากษา

ย้อนกลับไปในช่วงที่สถานการณ์ COVID-19 กำลังระบาดรุนแรงเมื่อปี 2563 และการเข้าถึงวัคซีนของประชาชนในประเทศยังคงไม่ทั่วถึง ในวันที่ 30 ธันวาคม 2563 เฟซบุ๊กเพจกลุ่มพิราบขาวเพื่อมวลชนก็ได้โพสต์ภาพป้ายผ้าดิบขนาดใหญ่ที่เขียนข้อความด้วยสีดำและแดงว่า “งบสถาบันกษัตริย์>วัคซีนCOVID19” โดยป้ายดังกล่าวถูกแขวนอยู่บนสะพานรัษฎาภิเศก หรือ “สะพานขาว” สถานที่ซึ่งเป็นเสมือนแลนด์มาร์กของจังหวัดลำปาง ภายในเวลาไม่ถึงหนึ่งเดือนหลังภาพถูกเผยแพร่ ก็มีประชาชนในจังหวัดลำปางทยอยถูกตรวจค้นที่พัก โดยที่หมายค้นนั้น เดินทางมาถึงก่อน “หมายเรียกคดี” จากนั้น เจ้าหน้าที่ก็ทำการด
52630745828_69f7c4c881_o
อ่าน

มาแล้ว! นัดฟังคำพิพากษา ม.112 ในปี 2566

ในปี 2565 จากจำนวนคดี #มาตรา112 ในยุคปิดปากราษฎรตั้งแต่ปี 2563 เป็นต้นมา รวมอย่างน้อย 227 คน ใน 245 คดี (ข้อมูลล่าสุด วันที่ 12 มกราคม 2566) มีคดีที่มีคำพิพากษาแล้วอย่างน้อย 32 คดี และเริ่มต้นปี 2566 หลายคนอาจได้หยุดพักผ่อนก่อนเริ่มทำงานกันมาในช่วงปีใหม่ แต่สำหรับผู้ต้องหามาตรา 112 นาฬิกาแห่งคำพิพากษาของพวกเขานั้นยังคงย่ำเท้าเดินต่อไปเรื่อยๆ  สำหรับกำหนดนัดฟังคำพิพากษาในปี 2566 มีดังต่อไปนี้ 
DSC02097
อ่าน

RECAP เสวนา Never Say Never: ถกปัญหา-หาทางออก 2 ปี การกลับมาของมาตรา 112”

วันที่ 20 พฤศจิกายน 2565 เนื่องในโอกาสครบรอบ 2 ปี การนำ #มาตรา112 กลับมาบังคับใช้ในระลอกปี 2563 ไอลอว์ร่วมกับสโมสรนิสิตคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดงานเสวนา “Never Say Never: ถกปัญหา-หาทางออก 2 ปี การกลับมาของมาตรา 112” โดยเป็นการพูดคุยกับตัวแทนพรรคการเมืองสามพรรค ได้แก่   o พล.ต.อ.เสรีพิสุทธิ์ เตมียเวช หัวหน้าพรรคเสรีรวมไทย o รังสิมันต์ โรม โฆษกพรรคก้าวไกล o ขัตติยา สวัสดิผล ตัวแทนพรรคเพื่อไทย ดำเนินรายการโดย ฐาปนีย์ เอียดศรีชัย
316947825_10167320941780551_5166993564394570998_n
อ่าน

ปิดทางสู้? ศาลไม่ออกหมายเรียกพยานเอกสารเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ให้จำเลยชุมนุมปฏิรูปสถาบันฯ

คดีมาตรา 112 จำนวนหนึ่งเป็นคดีที่มีมูลเหตุมาจากการปราศรัยหรือแสดงความคิดเห็นในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการใช้พระราชอำนาจหรือการดำเนินการบางประการของพระมหากษัตริย์ เช่น การเสด็จพระราชดำเนินและการประทับในต่างแดนหรือการใช้งบประมาณ การพิสูจน์ความบริสุทธิ์หรือพิสูจน์เจตนาในการกระทำของจำเลยเหล่านั้นจึงจำเป็นต้องอาศัยเอกสารสำคัญ เช่น เอกสารบันทึกการเสด็จพระราชดำเนินเข้า – ออกประเทศ หรือเอกสารเกี่ยวกับงบประมาณของพระมหากษัตริย์ ซึ่งอยู่ในความครอบครองของหน่วยงานต่างๆ มาเป็นหลักฐานในการต่อสู้คดี จำเลยในคดีเหล่านั้นจึงร้องขอให้ศาลออกหมายเรียกพยานเอกสารสำคัญที่อยู่ในควา
52516521204_fcfc2e8ca1_o
อ่าน

RECAP เสวนา 112 Never Forget: หนึ่งคนใช้ (กฎหมาย) หลายคนเดือดร้อน

วันที่ 20 พฤศจิกายน 2565 ที่สโมสรนิสิตคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไอลอว์จัดกิจกรรมเปิดตัวหนังสือ “Never Stop คนและคดียังไปต่อ” มีวงสนทนากับผู้ได้รับผลกระทบจากมาตรา 112 “Never Forget: หนึ่งคนใช้ (กฎหมาย) หลายคนเดือดร้อน”  โดยมีผู้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเป็นจำเลยคดีมาตรา 112 ได้แก่ สุริยศักดิ์ ฉัตรพิทักษ์กุล อดีตแกนนำนปช.
52514161504_363862f4da_o
อ่าน

112 ALERT! ชวนเปิดแฟ้ม “เพชร ธนกร” คดีปราศรัย #ม็อบ6ธันวา ก่อนพิพากษา

ตัวเลข 20 คือจำนวนคดีมาตรา 112 ที่มีผู้ต้องหาเป็นเยาวชน ภายหลังการประกาศแถลงการณ์ของนายกรัฐมนตรีว่าจะนำกฎหมาย “ทุกฉบับทุกมาตรา” กลับมาใช้ดำเนินคดีกับประชาชนอีกครั้งเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2563 ส่งผลให้นี่เป็น “ครั้งแรก” ในประวัติศาสตร์ไทย ที่มีการนำกฎหมายมาตราดังกล่าวซึ่งมีโทษสูงสุดถึง 15 ปี มาบังคับใช้กับเด็กอายุไม่เกิน 18 ปี  ภาพของนักเรียนมัธยมผูกโบขาวชูสามนิ้วระหว่างเคารพธงชาติที่ถูกเผยแพร่ในช่วงปี 2563 คือหลักฐานยืนยันว่า กระแสความตื่นตัวทางการเมืองในช่วงเวลานั้นเกิดขึ้นในหมู่เยาวชนคนรุ่นใหม่ โดยหลายคนที่อา
52506662483_06aa0e5e3f_o
อ่าน

RECAP 112 : ชวนรู้จักคดี ป้ายผ้า “งบสถาบันกษัตริย์ > วัคซีน COVID 19”

(1) ย้อนกลับไปในช่วงที่สถานการณ์ COVID-19 กำลังระบาดรุนแรงเมื่อปี 2563 และการเข้าถึงวัคซีนของประชาชนในประเทศยังคงไม่ทั่วถึง ในวันที่ 30 ธันวาคม 2563 เฟซบุ๊กเพจกลุ่มพิราบขาวเพื่อมวลชนก็ได้โพสต์ภาพป้ายผ้าดิบขนาดใหญ่ที่เขียนข้อความด้วยสีดำและแดงว่า “งบสถาบันกษัตริย์>วัคซีนCOVID19” โดยป้ายดังกล่าวถูกแขวนอยู่บนสะพานรัษฎาภิเศก หรือ “สะพานขาว” สถานที่ซึ่งเป็นเสมือนแลนด์มาร์กของจังหวัดลำปาง (2) ในคดีนี้ เจ้าหน้าที่ใช้วิธี “เข้าตรวจค้น” ก่อนที่หมายเรียกคดีจะเดินทางมาถึงตามกระบวนการ โดยในเวลาไม่ถึงหนึ่งเดือนหลังภาพดั