Chukiat filed to the Constitutional Court
อ่าน

จำเลยคดี 112 ยื่นศาลรัฐธรรมนูญชี้ขาด “คำสั่งคณะรัฐประหารที่เพิ่มโทษ ม.112 ไม่มีสถานะเป็นกฎหมาย-จำกัดเสรีภาพเกินสมควร”

ชูเกียรติ จำเลยคดีม.112 ยื่นคำร้องต่อศาลอาญาให้ส่งเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาว่า คำสั่งของคณะปฎิรูปการปกครองแผ่นดิน ฉบับที่ 41 ที่ให้เพิ่มโทษจำคุกม.112 เป็นคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายและขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ 2560 หรือไม่
free porn free sextoy
อ่าน

ภาคประชาชนเดินหน้า ดันจัดระบบหนังผู้ใหญ่-เซ็กส์ทอยถูกกฎหมาย

ภาคประชาชนกำลังเปิดให้ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งร่วมเข้าชื่อ 10,000 ชื่อ ผลักดันให้แก้ไขกฎหมายอาญาปัจจุบัน เพื่อให้มีการจัดระเบียบสื่อทางเพศรวมไปถึงเซ็กส์ทอยที่ถูกกฎหมายในประเทศไทย สามารถลงชื่อเพื่อเสนอร่างกฎหมายดังกล่าวต่อสภาได้ผ่านเว็บไซต์ www.update287.org
51828654847_b7f8b99f64_o
อ่าน

เปิดร่างพ.ร.บ.ป้องกันการกระทำความผิดซ้ำฯ ฟื้นฟู จับตา อุดช่องโหว่ปัญหาคดีอุกฉกรรจ์

ปัญหาการกระทำความผิดอาญารุนแรงซ้ำ เป็นหนึ่งในปัญหาสำคัญของสังคมไทย แม้จะมีมาตรการบางส่วนที่รับมือกับปัญหาดังกล่าว แต่ก็ยังไม่ตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้น ครม. จึงเสนอร่างพ.ร.บ.ป้องกันการกระทำความผิดซ้ำฯ ซึ่งกำหนดมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาการกระทำความผิดซ้ำ เพื่ออุดช่องโหว่ปัญหาเรื้อรังของสังคมไทย 
12 years
อ่าน

สภาเตรียมขยายช่วงอายุให้โอกาส “เด็ก” ไม่เกิน 12 ปี ทำผิดไม่ต้องรับโทษ

ร่างแก้ไขประมวลกฎหมายอาญากำลังจะเข้าสู่การพิจารณาของสภา เสนอเปลี่ยนช่วงอายุเด็กที่กระทำความผิดแล้วได้รับยกเว้น ไม่ต้องรับโทษ จากเดิมที่ขีดเส้นไว้ที่ 10 ปี เพิ่มเป็น 12 ปี เพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมายระหว่างประเทศ หรือ CDC 
INTRODUCTION TO NO.112
อ่าน

เปิดตัว! หนังสือ INTRODUCTION TO NO.112

หนังสือ INTRODUCTION TO NO.112  12 คำถามเพื่อทำความเข้าใจกฎหมายอาญา มาตรา 112 หนังสือที่จะชวนทุกคนร่วมสำรวจรากฐานของมาตรา 112 ผ่าน 12 คำถามพื้นฐานที่คนมักสงสัย พร้อมกับคำอธิบายง่ายๆ ประกอบข้อเท็จจริง สถิติ บทสัมภาษณ์ที่ iLaw ได้บันทึกและเรียบเรียงมาตลอดกว่า 10 ปี เพื่อสร้างความเข้าใจและสามารถนำข้อมูลไปถกเถียงเพื่อให้เกิดบทสนทนาที่สร้างสรรค์
51207171728_a6eab788fc_w
อ่าน

ขอบเขตของมาตรา 112 ที่ถูกทำให้มองไม่เห็น

แม้ตัวบทของมาตรา 112 จะไม่ได้ยืดยาวหรือซับซ้อน ซ่อนเงื่อนปมจนยากต่อการตีความ แต่จากการเก็บข้อมูลของไอลอว์พบว่า มีคดีมาตรา 112 บางส่วนที่การตีความของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็นตำรวจ อัยการ พยาน หรือศาล ที่ยังคง “ค้างคาใจ” ต้องหยิบยกมาถกเถียงต่อไปอีกยาวนาน ซึ่งการตีความมาตรา 112 บางกรณีก็อาจเป็นการตีความอย่าง “กว้างขวาง” เพื่อมุ่งให้เอาผิดให้ได้ หรือบางกรณีก็ตีความอย่าง “เคร่งครัด” มาก จนผิดปกติ ซึ่งทั้งสองกรณีอาจเกิดขึ้นได้ โดยไม่ได้ขึ้นอยู่กับประเด็นปัญหาในทางกฎหมายเท่านั้น แต่อาจเปลี่ยนแปลงไปในบรรยากาศทางการเมืองที่แตกต่างกัน และแนวนโยบายแต่ละยุคสมัย
CM police
อ่าน

คุยกับผู้ต้องหาคดี “ยุยงปลุกปั่น” #เชียงใหม่จะไม่ทนtoo

คุยกับ พึ่งบุญ หรือ “หมุน” ผู้ต้องหาคดี “ยุงยงปลุกปั่น” ตามมาตรา 116 จากการร่วมชุมนุม #เชียงใหม่จะไม่ทนtoo เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2563
Criminal Code Amendment : Judicial perversion of justice
อ่าน

ก้าวไกลเสนอแก้กฎหมายอาญา เอาผิดเจ้าพนักงานฐานบิดเบือนกฎหมาย

ส.ส. พรรคก้าวไกลเสนอร่าง พ.ร.บ.แก้ไขประมวลกฎหมายอาญา เพิ่มความผิดฐานบิดเบือนกฎหมาย ให้พนักงานอัยการ ผู้ว่าคดี หรือพนักงานสอบสวน ต้องรับผิดทางอาญาหากใช้อำนาจในตำแหน่งโดยมิชอบ
112 Amendment
อ่าน

ก้าวไกล ปฏิรูปโทษ “หมิ่น” ทั้งระบบ ย้าย 112 ออกจากหมวด “ความมั่นคง”

10 ก.พ.64 พรรคก้าวไกล เสนอร่างแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองเสรีภาพในการแสดงออกจำนวน 5 ฉบับ โดยหนึ่งในนั้นคือ ร่าง พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการแก้ไขความผิดฐานหมิ่นประมาทหลายมาตรา
50929682228_1977f6a003_c (1)
อ่าน

มาตรา 112 ถูกใช้ไปไกลแค่ไหน ในยุคที่มีการชุมนุมของคณะราษฎร – นักศึกษา 2563

ในปี 2563 เราค่อยๆ ได้เห็นการไต่ระดับของปรากฎการณ์ “พังฝ้าทะลุเพดาน” ที่ในปี 2563 เราค่อยๆ เห็นการไต่ระดับของปรากฎการณ์ “พังฝ้าทะลุเพดาน” ที่ไม่เคยเกิดขึ้นในสังคมไทยมาก่อน นัยยะสำคัญของการเคลื่อนไหวรอบนี้ไม่ใช่แค่จำนวนคนที่ออกมาร่วมชุมนุม แต่รวมถึงข้อเรียกร้องที่มีความหนักแน่น ชัดเจน และตรงไปตรงมาแบบที่ไม่เคยปรากฎในครั้งไหนไม่เคยเกิดขึ้นในสังคมไทยมาก่อน  เริ่มต้นจากการชุมนุมตามสถานศึกษาของนักเรียนนักศึกษาตั้งแต่ช่วงต้นปีเรื่อยมาจนมีการชุมนุมใหญ่เกิดขึ้นหลายครั้งช่วงกลางปีและปลายปี นัยยะสำคัญของการเคลื่อนไหวรอบนี้ไม่ใช่แค่จำนวนคนที่ออกมาร่วมชุมนุม แต่รวมถึงข้อเรียกร้องที่มีความหนักแน่น ชัดเจน และตรงไปตรงมาแบบที่ไม่เคยปรากฎในครั้งไหนๆ  การเรียกร้องให้ปฏิรูปสถาบันพระมหากษัตริย์ถูกพูดถึงเป็นครั้งแรก โดยอานนท์ นำภา เมื่อวันที่ 3 สิง