51851668814_1e26be9e42_o
อ่าน

ทำไมผู้ต้องหาต้องพิมพ์ลายนิ้วมือ ถ้าไม่พิมพ์แล้วจะมีความผิดหรือไม่

ในกระบวนการสอบสวนผู้ต้องหาในคดีอาญา ‘การพิมพ์ลายนิ้วมือ’ ของผู้ต้องหาถือเป็นหนึ่งในขั้นตอนที่พนักงานสอบสวนจะให้ผู้ต้องหาต้องทำเป็นปกติ การปรากฎภาพผู้ต้องหาชูนิ้วสีดำไม่ใช่แค่คดีการเมืองแต่รวมถึงคดีอาญาอื่นๆ ด้วย จึงเป็นเหมือน “ภาพจำ” เวลาผู้ต้องหามารับทราบข้อกล่าวหาที่สถานีตำรวจ จะต้องมีภาพ “มือดำ” กลับบ้านไป และกลายเป็นภาพจำอีกด้านหนึ่งว่า คนที่ “มือดำ” คืนคนที่ผ่านกระบวนการในฐานะผู้ต้องหาคดีอาญามาแล้ว ทางฝั่งของตำรวจก็อธิบายว่า สาเหตุที่จะต้องเก็บลายพิมพ์นิ้วมือของผู้ต้องหาไว้ทุกครั้งเมื่อผู้ต้องหามารับทราบข้อกล่าว เนื่องจากเป็นพยานหลักฐานที่สามารถเก็บได้ง่ายท
If arrest
อ่าน

รู้จักสิทธิขั้นพื้นฐาน กรณีถูกคุกคาม-เรียก-จับ จากการแสดงออกทางการเมือง

ชวนทำความเข้าใจสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชน เมื่อถูกตำรวจหรือเจ้าหน้าที่รัฐติดตาม คุกคาม เรียกให้ไปพบ หรือจับกุม จากการแสดงออกทางการเมืองภายใต้การประกาศใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ยาวนานกว่าหนึ่งปีเต็ม และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ถ้าตำรวจมาหาที่บ้าน ต้องทำยังไง?
50949069176_1a895cea21_b
อ่าน

ก้าวไกลเสนอ แก้วิ.แพ่ง+วิ.อาญา หวังหยุดคดี SLAPP “ปิดปากการมีส่วนร่วม”

10 กุมภาพันธ์ 2564 พรรคก้าวไกลเสนอชุดร่างกฎหมายคุ้มครองเสรีภาพในการแสดงออกและสิทธิในกระบวนการยุติธรรมของประชาชนจำนวนห้าฉบับเข้าสู่สภา โดยสองฉบับจากชุดร่างกฎหมายดังกล่าว มีร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง และร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาอยู่ด้วย ทั้งสองฉบับเรียกได้ว่า มีวัตถุประสงค์เพื่อจะแก้ไขปัญหาการฟ้อง "คดีปิดปาก" ที่เกิดขึ้น
What we can do if police appears in front of our house.
อ่าน

ถ้าตำรวจมาเยี่ยมบ้าน ต้องทำยังไง?

ไม่มีกฎหมายใดให้อำนาจเจ้าหน้าที่ตำรวจหรือเจ้าพนักงานของรัฐ สามารถติดตามหรือไปเยี่ยมบ้านประชาชนที่ไม่ได้กระทำความผิด ไม่มีกฎหมายให้อำนาจตำรวจเข้าไปนั่งคุยในบ้านของประชาชนเพื่อสอบถามข้อมูลต่างๆ ถ้าไม่มีเหตุสงสัยว่า บุคคลนั้นกระทำความผิดต่อกฎหมาย ไอลอว์ชวนดูประเด็นข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และสิทธิที่ประชาชนพึงรักษาไว้ได้ หากมีเจ้าหน้าที่ไปหาที่บ้าน
Somchai to Wanchalerm
อ่าน

จากคดี “ทนายสมชาย” ถึงอุ้มหายวันเฉลิม จะเอาผิดคนร้ายในไทยได้ต้องแก้กฎหมายก่อน

ตัวอย่างจากคดีการหายตัวของทนายสมชาย ที่เอาผิดกับคนทำไม่ได้ ช่วยให้เราเรียนรู้ช่องโหว่ของกฎหมายสำหรับการอุ้มหายที่เกิดขึ้น 16 ปีให้หลัง กรณีของวันเฉลิมเหตุเกิดที่ต่างประเทศ แม้กฎหมายไทยเปิดช่องให้เอาผิดในไทยได้ แต่ปัญหาอยู่ที่ "ผู้เสียหาย" ที่จะเป็นคนริเริ่มคดี
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.แก้ไข ป.วิอาญา การปล่อยตัวชั่วคราว “เพิ่มโทษซ้ำ หากหนีประกัน”

ร่าง พ.ร.บ.แก้ไข ป.วิอาญา การปล่อยตัวชั่วคราว เข้าสู่การพิจารณาของ สนช. ในวาระแรก ซึ่งสมาชิกสนช.ได้ร่วมกันเสนอ โดยสาระสำคัญคือ ให้ศาลพิจารณาให้ประกันตัวผู้ตัองหา โดยไม่ต้องพิจารณาเรื่องหลักประกัน ทั้งนี้หากหนีประกันก็จะมีโทษอีกเช่นกัน 
อ่าน

ยุค คสช. แก้ประมวล “วิ.อาญา” แล้ว 4 ครั้ง เพื่อความยุติธรรมหรือจำกัดอำนาจทางการเมือง?

หลังยุค คสช. มีการแก้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาถึงสี่ครั้ง เป็นการแก้ไขโดยประกาศของคณะรัฐประหาร หนึ่งครั้งและเป็นแก้ไขโดยการออกพ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติม โดย สนช. ที่แต่งตั้งโดยคณะรัฐประหารอีกสามครั้ง ซึ่งมีข้อสังเกตถึงการแก้กฎหมายฉบับนี้ว่าเป็นการแก้เพื่อจำกัดอำนาจทางการเมืองของบุคคลบางกลุ่มหรือไม่
Amended The Criminal Procedure
อ่าน

สนช.แก้ไข ป.วิอาญา 2 ฉบับ: คดีที่คนสนใจประธานศาลฎีกาสั่งย้ายศาลได้ ถ้าจำเลยจะอุทธรณ์ฎีกาต้องมายื่นด้วยตัวเอง

สนช.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาอีก 2 ฉบับ คือ แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 26 เกี่ยวกับการโอนคดี และเกี่ยวกับหลักเกณฑ์การยื่นอุทธรณ์และฎีกาของจำเลย (มาตรา 198 และมาตรา 216) เนื้อหาน่าสนใจอย่างไรติดตาม
อ่าน

เสียชีวิตระหว่างควบคุมตัว ต้อง “ชันสูตรพลิกศพ” และ “ไต่สวนการตาย”

ข่าวผู้ต้องหาคดีแอบอ้างสถาบันฯ เสียชีวิตระหว่างถูกควบคุมตัว เป็นที่สนใจของสังคม แต่ไม่ปรากฏรายงานข่าวว่ามีการ "ชันสูตรพลิกศพ" หรือ "ไต่สวนการตาย" โดยศาล เพื่อหาสาเหตุของการตายที่แท้จริงหรือไม่ ทั้งที่เป็นกระบวนการที่กฎหมายกำหนดให้ต้องทำ พิจารณาเปรียบเทียบกับการตาย "อากงSMS" และ "สุรกริช"