review Wan Muhamad Noor Matha's works as President of Parliament
อ่าน

ตรวจการบ้าน 1 เดือนประธานสภา ส่องผลงานเด็ด ทำอะไรไปบ้าง?

สิงหาคม 66 ครบรอบหนึ่งเดือนประธานสภา ประธานรัฐสภานัดประชุมร่วมรัฐสภาไปแล้วสี่ครั้ง สั่งงดประชุมไปหนึ่งครั้ง สามครั้งที่เหลือ ก็เกิดเหตุการณ์ที่ “ชวนสับสน” ทั้งการลงมติตีความว่าการเสนอชื่อนายกฯ ซ้ำขัดต่อข้อบังคับการประชุมรัฐสภา ทั้งประธานรัฐสภาชิงปิดประชุมหนีทั้งที่การประชุมเพิ่งผ่านไปได้สองชั่วโมง
Repeatedly Wrong
อ่าน

เพราะทำ “ผิดซ้ำผิดซ้อน” จึงเลือกนายกฯ ไม่ได้สักที

หลังผ่านเลือกตั้งมาสามเดือนศาลรัฐธรรมนูญ กำลังกลายเป็นอีกปัจจัยสำคัญที่ชะลอให้การตั้งรัฐบาลเกิดขึ้นไม่ได้เสียที เกิดเหตุการณ์ที่มีผู้ใช้อำนาจ "ผิด" หลักการของกฎหมาย เมื่อผิดไปแล้วหนึ่งครั้ง ก็ทำให้กระบวนการต่อๆ มามีเหตุต้องอ้างอิงเพื่อยันการใช้อำนาจที่ผิดทำให้เกิดปัญหาซ้ำซ้อนขึ้นไปเรื่อยๆ
Parliament
อ่าน

เปิดข้อบังคับฯ ประธานรัฐสภาสั่ง “พัก-เลื่อน-เลิก” ประชุมได้ตามที่ “เห็นสมควร”

4 ส.ค. 66 ประชุมร่วมรัฐสภาล่มตั้งแต่เช้า แม้ยังไม่ได้ผลสรุปว่าจะดำเนินไปทิศทางไหนแต่ วันมูหะมัดนอร์ มะทา ประธานรัฐสภา ก็สั่งเลื่อนและจบการประชุมคราวนี้ทันทีท่ามกลางความงุนงงของทุกฝ่ายโดยอาศัยอำนาจข้อบังคับประชุมรัฐสภา ข้อ 22
President of the Parliament
อ่าน

เคาะแล้ว! วันนอร์นั่งประธานสภาไร้คู่แข่ง ก้าวไกล-เพื่อไทย นั่งเก้าอี้รองประธานสภา

เปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 26 ครั้งแรก หลังจากที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) ที่มาจากการเลือกตั้งเมื่อ 14 พฤษภาคม 2566 ปฏิญาณตนเข้ารับหน้าที่ มีวาระสำคัญคือ การเลือกประธานสภาและรองประธานสภา
council president
อ่าน

ประธานสภาสำคัญยังไง? สำรวจคุณสมบัติ ที่มา และหน้าที่ตามกฎหมาย

ตำแหน่งประมุขฝ่ายนิติบัญญัติหรือประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นอีกหนึ่งตำแหน่งสำคัญในทางการเมือง เนื่องจากตำแหน่งนี้เป็นหนึ่งในสามอำนาจอธิปไตยของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย และมีบทบาทสำคัญในการคุมทิศทางของรัฐสภา
Civil Society Statement
อ่าน

สภาไม่ให้ประชาชนมีสิทธิเข้าชื่อยกเลิกโทษผู้ใช้ยา ชี้ขัดความมั่นคง เครือข่ายประชาชนแถลงค้าน

เครือข่ายคนทำงานด้านยาเสพติด แถลงตอบโต้กรณีประธานรัฐสภาวินิจฉัยว่า ร่างพ.ร.บ.บำบัดฟื้นฟูคุ้มครองดูแล และพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ใช้ยาเสพติด ที่ต้องการรวบรวมรายชื่อประชาชนเพื่อเสนอเป็นร่างที่กระทบต่อความมั่นคง โดยยืนยันเป็นการเสนอร่างเพื่อคุ้มครองสิทธิของประชาชน และให้การเสนอร่างกฎหมายเป็นสิทธิ การพิจารณาเป็นอำนาจของสภา  
con-1
อ่าน

ร่างรัฐธรรมนูญประชาชนต้องไปต่อ สภาต้องบรรจุสมัยหน้าพิจารณาพร้อมร่างพรรครัฐบาล-ฝ่ายค้าน

24 กันยายน 2563 ที่ประชุมรัฐสภามีมติเสียงข้างมากให้ตั้งคณะกรรมาธิการเพื่อพิจารณาญัตติแก้รัฐธรรมนูญที่พรรคร่วมรัฐบาลและพรรคร่วมฝ่ายค้านเป็นผู้เสนอก่อนลงมติรับหลักการ (วาระแรก) โดยคาดว่าต้องใช้กรอบเวลาพิจารณาประมาณ 30 วัน และเริ่มพิจารณาใหม่อีกครั้งในสมัยประชุมหน้า
Pitipong submitted three requests for removal the ex-NIA.
อ่าน

‘ปิติพงษ์’ ยื่นสามเรื่อง ขอถอดถอนอดีต สนช. ที่นั่งยาวเป็น ส.ว.

ปิติพงษ์ เต็มเจริญ อดีตโฆษกพรรคเสรีรวมไทย ยื่นหนังสือต่อประธาน กกต. ประธานผู้ตรวจการแผ่นดิน และประธานรัฐสภา เพื่อให้สามองค์กรส่งเรื่องต่อไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยความเป็นสมาชิกภาพของอดีต สนช.ที่ขณะนี้ดำรงตำแหน่ง ส.ว.และกรรมการ ป.ป.ช. ว่า ขาดคุณสมบัติตามกฎหมายและให้สิ้นสุดการปฏิบัติหน้าที่