51354112716_685bc7b205_w
อ่าน

“ถอนประกัน-ไม่ให้ประกัน” การใช้กระบวนการยุติธรรมสกัดการชุมนุม

นับตั้งแต่การชุมนุมใหญ่ในเดือนกรกฎาคม 2563 จนถึงเดือนสิงหาคม 2564 รัฐพยายามใช้ยุทธวิธีที่หลากหลายเพื่อสกัดกั้นการชุมนุมที่ค่อยๆ ขยายตัว ไม่ว่าจะเป็นการบังคับใช้กฎหมายที่มีโทษสูงอย่างกว้างขวางเพื่อจะออกหมายจับผู้ต้องหาโดยไม่ออกหมายเรียก รวมถึงการปฏิเสธสิทธิในการประกันตัวของผู้ต้องหาคดีการเมืองที่แม้บางส่วนจะไม่เคยถูกดำเนินคดีมาก่อน  โดยปรากฎการณ์เหล่านี้ กำลังสะท้อนให้เห็น ‘แนวรบด้านกระบวนการยุติธรรม’ ที่กลับมาตึงเครียดอีกครั้ง ซึ่งสามารถลำดับสถานการณ์ได้ ดังนี้ ปี 63 รัฐเร่งรัดออกหมายจับและไม่ให้ประกันตัวผู้ชุมนุม
Cameras
อ่าน

ก่อนเสนอร่างพ.ร.บ.จดทะเบียนสื่อฯ ลองดูบทเรียนเพื่อนบ้านเมื่อสื่อถูกคุมเข้มด้วยระบบใบอนุญาต

ร่างพ.ร.บ.จดทะเบียนสื่อของไทยกำลังถูกผลักดัน โดยอ้างอิงว่าเอาแบบมาจากหลายประเทศเพื่อนบ้าน แต่ลองดูประสบการณ์ของต้นแบบอย่างมาเลเซีย และสิงคโปร์เสียก่อน หลายกรณีสื่อถูกเซ็นเซอร์ ถูกขู่ ถูกปิด เพราะการวิจารณ์รัฐบาลเพียงเล็กๆ น้อยๆ
Media Camera
อ่าน

เปิดร่างกฎหมายจดทะเบียนสื่อ เผย 5 วิธีรัฐแทรกแซงการกำกับดูแลกันเอง

ด้วยเหตุนี้ จึงเป็นที่มาของการยกร่าง พ.ร.บ.การคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ ส่งเสริมจริยธรรม และมาตรฐานวิชาชีพสื่อมวลชน พ.ศ…. ที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการเมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2559 และสั่งให้คณะกรรมการสามฝ่าย คือ คณะรัฐมนตรี สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) และสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ (สปท.) ไปพิจารณาร่างพ.ร.บ.ให้สอดคล้องเหมาะสมกับการปฏิรูปประเทศ หัวใจสำคัญของร่าง คือการกำหนดให้อาชีพสื่อเป็นอาชีพที่ต้องขึ้นทะเบียน และตั้งหน่วยงานขึ้นมาใหม่เพื่อกำกับดูแลสื่อไม่จำกัดประเภท ไม่ว่าจะเป็นสื่อออนไลน์หรือสื่อออฟไลน์
อ่าน

เสวนา ทีดีอาร์ไอชี้ต้องปฎิรูปหลายด้าน ขณะที่ประชานิยมอยู่กับประชาธิปไตยได้ไม่มีปัญหา

สังคมไทยส่วนหนึ่งเริ่มตื่นตัวกับกระเเสปฎิรูปที่กำลังจะเกิดขึ้นว่าจะนำประเทศไปสู่ทิศทางใด ด้วยเหตุนี้วันที่ 14 ตุลาคม 2557 จึงมีหลายภาคส่วนเข้าร่วมเเสดงความคิดเห็นในเวทีสัมมนาสาธารณะ ชื่อ “ปฎิรูปประเทศประเทศไทยปฎิรูปอะไรเเละอย่างไร?” ณ มูลนิธิสถาบันเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI)