51828654847_b7f8b99f64_o
อ่าน

เปิดร่างพ.ร.บ.ป้องกันการกระทำความผิดซ้ำฯ ฟื้นฟู จับตา อุดช่องโหว่ปัญหาคดีอุกฉกรรจ์

ปัญหาการกระทำความผิดอาญารุนแรงซ้ำ เป็นหนึ่งในปัญหาสำคัญของสังคมไทย แม้จะมีมาตรการบางส่วนที่รับมือกับปัญหาดังกล่าว แต่ก็ยังไม่ตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้น ครม. จึงเสนอร่างพ.ร.บ.ป้องกันการกระทำความผิดซ้ำฯ ซึ่งกำหนดมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาการกระทำความผิดซ้ำ เพื่ออุดช่องโหว่ปัญหาเรื้อรังของสังคมไทย 
prisoner reduction in Asean
อ่าน

ความแออัดของเรือนจำในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กับมาตรการการรับมือโควิด 19

ปัญหาความแออัดในเรือนจำเป็นปัญหาร่วมของหลายๆ ประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อเกิดการแพร่ระบาดของโควิด 19 มีอย่างน้อยห้าประเทศในภูมิภาคที่ลดความแออัดของเรือนจำด้วยการปล่อยนักโทษบางส่วน ซึ่งต้องจับตาดูต่อไปว่าหลังวิกฤตโควิด 19 ผ่านพ้นไปประเทศเหล่านี้จะมีความพยายามแก้ไขปัญหานักโทษล้นคุกอย่างจริงจังต่อไปหรือไม่
Marion Correctional Institution
อ่าน

สำรวจมาตรการเรือนจำแมริออน รัฐโอไฮโอ หลังพบนักโทษกว่า 70% ติด COVID-19 แล้ว

ในเรือนจำแมริออน ในเขตหนึ่งของรัฐโอไฮโอ สหรัฐอเมริกา ที่มีจำนวนนักโทษทั้งหมดประมาณ 2,600 คน มีนักโทษติดเชื้อ COVID-19 ไปแล้ว 1,950 ราย (21 เมษายน 2563) คิดเป็นมากกว่า 70 % ของนักโทษทั้งหมด มาดูกันว่าหลังจากนี้เขามีมาตรการจัดการอย่างไร
prison vs covid
อ่าน

อังกฤษและเวลส์ปล่อยนักโทษกว่า 4,000 คน หนีโควิด

รัฐบาลประเทศอังกฤษได้ออกประกาศว่า นักโทษจำนวนกว่า 4,000 คนจะได้รับการปล่อยตัวชั่วคราวเพื่อการควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า โดยสวมอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัวไว้ และจะถูกภาคทัณฑ์ไว้ตลอดระยะเวลาที่ถูกปล่อยโดยจะถูกตามตัวให้กลับมาทันทีเมื่อมีเหตุที่น่าสงสัยว่าจะหลบหนี
prison
อ่าน

We are all Human ข้อเสนอเร่งด่วนยับยั้งการระบาดของโควิด 19 ในเรือนจำ

การใช้มาตรการรักษาระยะห่างทางสังคมเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของ #COVID-19 ดูจะเป็นไปได้ยากในเรือนจำไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมเองก็ยอมรับว่า หากมีการแพร่ระบาดของโรคในเรือนจำก็จะบริหารจัดการได้ยาก การลดจำนวนผู้ต้องขังทั้งระบบโดยมีเงื่อนไขและมาตรการด้านความปลอดภัยรองรับอาจเป็นหนึ่งในทางเลือกที่ควรถูกหยิบยกมาพิจารณาในห้วงเวลานี้
49696625723_6c7f7f377b_c
อ่าน

ปล่อยนักโทษลดความแออัด อีกหนึ่งมาตรการรับมือโควิด 19 ในต่างประเทศ

ระหว่างที่ไวรัสโคโรนากำลังระบาดในหลายๆ ประเทศ การลดความหนาแน่นในเรือนจำด้วยการปล่อยผู้ต้องขังบางส่วนเป็นแนวทางที่หลายๆ ประเทศเลือกใช้
DwvCAvUWkAIsGbG
อ่าน

ทบทวนกรณี #SaveRahaf กับสิทธิผู้ลี้ภัยในยุคคสช.

แม้ว่า Rahaf Mohammed Alqunun สาวชาวซาอุดิอาระเบีย จะมีประเทศที่สามรับเธอให้เข้าไปลี้ภัยแล้ว แต่เรื่องของเธอช่วยทำให้สังคมไทยได้ทบทวนบทบาทของรัฐที่มีต่อผู้ลี้ภัยว่า ต้องดำเนินการตามแนวทางหลักสิทธิมนุษยชน หรือยึดตามหลักต่างตอบแทนโดยส่งผู้ลี้ภัยกลับตามคำร้องขอของมิตรประเทศ
KooK
อ่าน

สธ.ไม่ฟันธง ผู้ต้องขังในเรือนจำมีสิทธิหลักประกันสุขภาพหรือไม่

การประชุม “สุขภาพผู้ต้องขังหญิง: ให้เท่าที่จำเป็นหรือสิทธิที่พึงได้รับ?” นักวิชาการเผย เรือนจำแออัด เสี่ยงต่อการติดโรค อำนาจผู้คุมทำให้เข้าไม่ถึงบริการสุขภาพ ด้านหน่วยงานรัฐประสานเสียงตรงกัน ผู้ต้องขังยังไม่แน่ว่าจะได้รับสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าหรือไม่ ขึ้ันอยู่กับการตีความ

สิบปีของ นาย ก. ในคุก “Grade A” และ “Grade B”

เผยวิถีชีวิตของนักโทษในเรือนจำจากประสบการณ์สิบปีของนักโทษที่เข้าออกทั้งคุกเล็กคุกใหญ่ หรือเรียกว่าคุก "Grade A" และ "Grade B" ในทางปฏิบัติวิถีชีวิตของนักโทษในคุกทั้งสองประเภทจะแตกต่างกันบ้าง ทั้งเรื่องที่หลับที่นอน อาหารการกิน ความเข้มงวดของกฎระเบียบ