51376780066_d8bd13523f_o
อ่าน

แกะเบื้องหลังแฮชแท็ก #ม็อบต้องการคนตาย “ยืมแรง” ผู้ใช้ทวิตเตอร์ปั่นติดเทรนด์

7 สิงหาคม 2564 ผู้สนับสนุนการชุมนุมใช้ #ม็อบ7สิงหา เป็นหลัก ซึ่งมีจำนวนทวิตทั้งหมด (รวมรีทวิต) มากกว่า 8 ล้านครั้ง และขึ้นเป็นเทรนด์อันดับหนึ่งประจำวัน ในอีกด้านหนึ่งก็ปรากฏแฮชแท็กของผู้ไม่เห็นด้วยกับการชุมนุมด้วยเช่นกัน แม้จะมีจำนวนไม่มากเท่ากับแฮชแท็กของผู้ชุมนุม แต่ #ม็อบต้องการคนตาย ก็มีจำนวนทวิตมากกว่า 3 แสนครั้ง โดยในจำนวนนี้ประกอบไปด้วยทั้งทวิตจากกลุ่มผู้ไม่เห็นด้วยกับการชุมนุมและกลุ่มผู้สนับสนุนการชุมนุมที่เข้าไปติดแฮชแท็กด้วยปะปนกันไป
Pic-01
อ่าน

นวัตกรรมม็อบ 2020: กลยุทธ์ใหม่ๆ รับมือการปิดกั้น กดปราบ

ปีที่แล้ว หากพูดถึ…
Gender-Based Violence Online towards female politicians and activists
อ่าน

เพศสภาพ/เพศวิถี เครื่องมือก่อความรุนแรงบนพื้นที่ออนไลน์ต่อนักการเมือง/นักกิจกรรมหญิง

รศ.ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์ อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้นำเสนอรายงานการวิจัยเรื่อง “เกลียด/โกรธ/กลัว: ความรุนแรงทางเพศ/เพศสภาพในพื้นที่ออนไลน์” ระบุว่า จากผลการศึกษา “รัฐ” เป็นส่วนหนึ่งในการใช้ความรุนแรงออนไลน์ต่อนักการเมืองเพศหญิงด้วย ผ่านการใช้สื่อประณามหรือประจานนักการเมืองหญิง  
Twitter
อ่าน

#ขบวนเสด็จ สนั่นโลกทวิตเตอร์ เปิดกฎหมายเรื่องการจราจรและขบวนเสด็จ

แฮชแท็ก #ขบวนเสด็จ ติดเทรนด์ในทวิตเตอร์ประเทศไทย และกระแสกำลังพุ่งขึ้นเรื่อยๆ ช่วงเที่ยงของวันที่ 2 ตุลาคม กลายเป็นเทรนอันดับหนึ่ง กว่า 250k ทวีต ทิ้งห่างเทรนด์อันอับสองกว่าสิบเท่าตัว      
Twitter Training
อ่าน

ชวนเอ็นจีโอ เข้าสู่โลกทวิตเตอร์

ยุคสมัยนี้คนรุ่นใหม่หันมาใช้ชัวิตบนโลกทวิตเตอร์กันมากขึ้น ไอลอว์ชวนคนทำงานภาคประชาสังคม หรือทำงานรณรงค์เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงทางสังคม มาเรียนรู้การใช้ชีวิตในโลกทวิตเตอร์ เพื่อเข้าถึงคนกลุ่มใหม่ๆ ด้วยกัน เริ่มจากการใช้งานขั้นพื้นฐานที่สุด ไปสู่เทคนิคเคล็ดลับที่หาอ่านไม่ได้จากตำรา  
iLaw GayAndSex
อ่าน

ทวิตเตอร์: พื้นที่สร้างตัวตน ต่อต้านบรรทัดฐานทางสังคมของกลุ่มเกย์

เสวนาเรื่อง มองปรากฏการณ์เรื่องเพศในสังคมไทย ปี 2559 เสนอประเด็นเกี่ยวกับพื้นที่และตัวตนของกลุ่มเกย์ในทวิตเตอร์ ที่มีการเผยแพร่คลิปความสัมพันธ์ระหว่างชายกับชาย การขายเซ็กส์ผ่านไลน์สร้างรายได้ และการต่อต้านบรรทัดฐานทางสังคม