Thai Bar Association & lawyer council are going to revise their regulations
อ่าน

ทนายหญิงจะใส่กางเกงว่าความได้แล้ว สภาทนายความ-เนติเดินหน้าแก้ข้อบังคับแต่งกาย

หลังจากนักกฎหมายและทนายความสิทธิต่อสู้เพื่อให้สภาทนายความแก้ไขข้อบังคับเรื่องการแต่งกายที่ยังยึดกรอบเพศมาตั้งแต่ปี 2563 มกราคม 2566 ก็เริ่มเห็นสัญญาณที่ดีเมื่อสภาทนายความและเนติบัณฑิตยสภา เริ่มเดินหน้าแก้ไขข้อบังคับเรื่องการแต่งกาย
discrimination
อ่าน

ระเบียบสภาทนายความบังคับแต่งกายตามเพศกำเนิด นักศึกษานิติศาสตร์ ร้อง วลพ.​ เลือกปฏิบัติทางเพศ

ระเบียบของสภาทนายความ ยังคงกำหนดการแต่งกายของผู้ที่จะสอบใบอนุญาตว่าความต้องแต่งกายยึดตามเพศกำเนิด สำหรับผู้ที่มีเพศสภาพต่างจากเพศกำเนิด ยังต้องใช้ระบบขออนุญาตเพื่อให้สามารถแต่งกายตามเพศสภาพได้ หากฝ่าฝืนจะถูกตัดคะแนนสอบ
-ระงับ
อ่าน

ข้อกำหนดพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ใหม่ ให้อำนาจ กสทช. สั่ง ISP “ตัดเน็ต” ผู้โพสสร้างความหวาดกลัว

  29 กรกฎาคม 2564 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ข้อกำหนดตาม พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ฉบับที่ 29 โดยมีสาระสำคัญ ดังนี้ 1.
lawyers' dressing
อ่าน

ขอปลดล็อกการแต่งกายทนายความ ข้ามผ่านข้อจำกัดเรื่องเพศ

10 มิถุนายน 2563 ทนายความจากสมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชนเข้าพบตัวแทนสภาทนายความ เพื่อยื่นหนังสือเสนอให้แก้ไขข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยมรรยาททนายความ พ.ศ. 2529 เนื่องจากข้อบังคับดังกล่าวได้กำหนดให้ทนายความเพศหญิงต้องใส่กระโปรง และมีโทษหากไม่ปฏิบัติตาม
justice rights
อ่าน

สรุปรัฐธรรมนูญ 2560: สิทธิในกระบวนการยุติธรรมตัดให้สั้นลง สิทธิมีทนายความหายไป

รัฐธรรมนูญ 2560 เขียนให้ "สั้น กระชับ" จึงไม่ได้ใส่หลักการหลายประการ สิทธิของประชาชนเมื่อเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม หลายเรื่องต้องไปดูในกฎหมายอื่น และบางเรื่องถูกโยกไปเป็น "หน้าที่ของรัฐ" ประเด็นสำคัญ คือ สิทธิของผู้ต้องหาที่จะได้รับการเยี่ยมถูกตัดออกไป และสิทธิที่จะมีทนายความไม่ใช่ของทุกคน แต่รัฐจัดให้ผู้ยากไร้    
0-2
อ่าน

ศาลปกครองกลางนัดฟังคำพิพากษาคดีวอยซ์ ทีวี ฟ้องเพิกถอนคำสั่งกสทช.

27 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 10.00 น. ศาลปกครองกลางออกนั่งพิจารณาคดีเป็นครั้งแรกในคดีที่วอยซ์ ทีวีฟ้องคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ผู้ถูกฟ้องคดีที่ 1 และสำนักงาน กสทช. ผู้ถูกฟ้องคดีที่ 2 โดยตุลาการศาลปกครองจะแถลงข้อเท็จจริงในคดี ก่อนที่ในเวลา 14.00 น. ตุลาการฯจะอ่านคำพิพากษาของคดีนี้
BpNkYKeCQAACMzm
อ่าน

ศาลปกครองไต่สวนข้อเท็จจริงคดีวอยซ์ ทีวีฟ้องกสทช.

20 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 10.00 น. ศาลปกครองนัดไต่สวนข้อเท็จจริง คดีที่วอยซ์ ทีวีฟ้องกสทช. จากการสั่งระงับการออกอากาศวอยซ์ ทีวีเป็นเวลา 15 วัน ตั้งแต่วันที่ 13-27 กุมภาพันธ์ 2562 ก่อนหน้านี้วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2562 ศาลปกครองนัดไต่สวนฉุกเฉินทุเลาคำบังคับของกสทช. โดยศาลปกครองมีคำสั่งคุ้มครองให้วอยซ์ ทีวีออกอากาศได้ระหว่างการพิจารณาคดี  
night-television-tv-theme-machines
อ่าน

ข้อมูลและขั้นตอนการปิดกั้นเนื้อหาในสื่อโทรทัศน์ ภายใต้ยุคคสช.

วิธีการ และวิธีคิดในการกำกับดูแลสื่อโทรทัศน์ในประเทศไทยกำลังเปลี่ยนไปภายใต้ยุครัฐบาล คสช. เริ่มตั้งแต่การออกประกาศอย่างน้อย 10 ฉบับ การตั้งคณะกรรมการพิเศษติดตามตรวจสอบเนื้อหา และการส่งเรื่องผ่าน “กสทช.” ให้ “องค์กรอิสระ” แห่งนี้ใช้อำนาจแทน อย่างน้อย 18 กรณี จาก 12 สถานี ถูกเรียกให้เข้าสู่กระบวนการกำกับเนื้อหาโดยรัฐ กรณีที่มีชื่อเสียง เช่น การสั่งปิดพีซทีวี การตรวจสอบไทยพีบีเอสเนื่องจากเสนอสกู๊ป “กลุ่มดาวดิน” และกรณีทหารบุกปิดสถานีฟ้าให้ เป็นต้น  การกำกับดูแลเนื้อหาโทรทัศน์ในยุค กสทช. ก่อนการรัฐประหาร (พ.ศ.
CIVIL PROCEDURE CODE AMENDMENT
อ่าน

แก้ไข ‘ป.วิแพ่ง’ อาจตัดสิทธิประชาชน อุทธรณ์-ฎีกา

ปัจจุบันการยื่นคดีต่อศาลฎีกาเป็นระบบสิทธิ ซึ่งจะช่วยคุ้มครองคู่ความให้ได้รับความยุติธรรมโดยมีการตรวจสอบถึงสามชั้นศาล สำหรับการแก้ไข "ป.วิแพ่ง" เป็นระบบอนุญาตจะแก้ปัญหาเรื่องภาระคดีจำนวนมากที่จะต้องขึ้นศาลฎีกา การเปลี่ยนแปลงนี้อาจทำให้การตรวจสอบลดลง ดังนั้นการคุ้มครองสิทธิของประชาชนอาจได้รับผลกระทบ
Justice
อ่าน

นักวิชาการเสนอ แก้ไขกระบวนการยุติธรรม ต้องมีบทลงโทษเจ้าหน้าที่รัฐ

หกทศวรรษปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน นักวิชาการด้านกฎหมายและทนายความเห็นพ้อง กระบวนการยุติธรรมทางอาญาไทยมีปัญหาการละเมิดสิทธิ แม้กฎหมายไทยแก้ไขให้สอดคล้องกับหลักสากลแล้ว แต่การทำงานของเจ้าหน้าที่ยังมีปัญหาอยู่มาก