อ่าน

วงเสวนาชี้ ‘วิสามัญฆาตกรรม’ หวั่นคนตายฟรี-กระบวนการยุติธรรมไม่โปร่งใส

14 กรกฎาคม 2561 องค์กรสิทธิมนุษยชนและภาคประชาสังคมรวมตัวกันจัดงานเสวนา วิสามัญฆาตกรรมและปริศนาความยุติธรรมทางอาญาที่ยังไม่เกิด เพื่อถอดบทเรียนการวิสามัญฆาตกรรมของชัยภูมิ ป่าแส นักกิจกรรมเยาวชนชาติพันธุ์ลาหู่ และอะเบ แซ่หมู่ ชาวชาติพันธุ์ลีซู ที่ตายอย่างปริศนา รวมทั้งตั้งข้อสังเกตถึงกระบวนการยุติธรรมไทยที่ไม่สามารถคืนความเป็นธรรมให้ญาติได้อย่างแท้จริง
อ่าน

ปฏิรูปตำรวจยุค คสช. ‘นับหนึ่งไม่ถึงร้อย’

การปฏิรูปตำรวจเป็นโจทย์ใหญ่ที่รัฐบาลทุกยุคทุกสมัยมีความพยายามจะแก้ไขมาโดยตลอด ไม่เว้นแม้กระทั่งรัฐบาลทหารอย่างคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.)
-Media-Inside-Out
อ่าน

เก็บตกเวที Media Inside Out จำเลยรัฐ จาก NDM ถึง MBK 39

ตั้งแต่ช่วงต้นปี 2561 การเมืองไทยกลับมาเคลื่อนไหวคึกคักอีกครั้ง แม้คำสั่งหัวหน้า คสช. ฉบับที่ 3/2558 ที่ห้ามชุมนุมทางการเมืองตั้งแต่ห้าคนขึ้นไปจะยังมีผลบังคับใช้ แต่ก็ไม่ได้ทำให้ผู้ที่ไม่เห็นด้วยกับ คสช. หวาดกลัว ตรงกันข้ามเมื่อมีข่าวว่า พ.ร.ป.การเลือกตั้งส.ส.ฯ จะมีผลบังคับใช้หลังประกาศในราชกิจจานุเบกษาไปแล้วเก้าสิบวัน และทำให้การเลือกตั้งอาจจะถูกเลื่อนออกไปได้ไกลจากโรดแมปเดิมถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2562 ก็กลายเป็นแรงกระตุ้นให้ประชาชนที่ไม่เห็นด้วยกับ คสช. ทั้งคนรุ่นใหม่และคุณลุงคุณป้าออกมาเคลื่อนไหวเพื่อทวงสัญญาให้มีการเลือกตั้งภายในปี 2561 จนนำไปสู่การดำเนินคดี ฐานฝ่าฝืนคำสั่งหัวหน้า คสช.
อ่าน

ยุค คสช. แก้ประมวล “วิ.อาญา” แล้ว 4 ครั้ง เพื่อความยุติธรรมหรือจำกัดอำนาจทางการเมือง?

หลังยุค คสช. มีการแก้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาถึงสี่ครั้ง เป็นการแก้ไขโดยประกาศของคณะรัฐประหาร หนึ่งครั้งและเป็นแก้ไขโดยการออกพ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติม โดย สนช. ที่แต่งตั้งโดยคณะรัฐประหารอีกสามครั้ง ซึ่งมีข้อสังเกตถึงการแก้กฎหมายฉบับนี้ว่าเป็นการแก้เพื่อจำกัดอำนาจทางการเมืองของบุคคลบางกลุ่มหรือไม่
อ่าน

ไกล่เกลี่ยชั้นตำรวจ-อัยการชะลอฟ้อง ทางเลือกใหม่ไม่ต้องเอาคนขึ้นศาล

ร่างพ.ร.บ.มาตรการแทนการฟ้องคดีอาญา เสนอช่องทางใหม่ ให้อำนาจตำรวจจัดการไกล่เกลี่ยคดี พร้อมกันนี้ให้อัยการสั่งชะลอการฟ้องศาลได้สามปี หวังคดีจบได้โดยไม่ต้องขึ้นศาล เพื่อลดปัญหาคดีรกศาลและคนล้นคุก แต่เราไว้ใจตำรวจและอัยการได้แค่ไหน
thumb
อ่าน

สำรวจกฎหมายไทย-ระหว่างประเทศ ทหารลักพาตัวแอดมินเพจไป 8 วัน ผิดกฎหมายอะไรบ้าง

จากข่าวร้อนในช่วงหลายวันที่ผ่านมา กรณีทหารและตำรวจกว่า 30 นายบุกเข้าจับกุมตัว สราวุธ บำรุงกิตติคุณ ผู้ดูแลเพจ“เปิดประเด็น” ไปจากบ้านพักในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ตั้งแต่วันที่ 9 มีนาคม 2559 จนกระทั่งปล่อยตัวในวันที่ 16 มีนาคม 2559 โดยให้ญาติมารับจากค่ายวิภาวดีรังสิต จังหวัดสุราษฎร์ธานี เมื่อเวลาประมาณ 8.00 น.
Police
อ่าน

คอรัปชั่นในแวดวงสีกากี: วงจรอุบาทว์ที่การแก้ไข “เป็นไปไม่ได้”

การรีดไถหรือการติดสินบนตำรวจเป็นสิ่งที่รับรู้กันโดยทั่วไป แต่ที่มาที่ไปหรือกระบวนการเชิงลึกน่าจะยังไม่เป็นที่รับรู้ iLaw สนทนากับอดีตนายตำรวจชั้นผู้ใหญ่ท่านหนึ่ง และผู้ประกอบการเอกชน เกี่ยวกับประสบการณ์การคอรัปชันของตำรวจ หวังว่าเสียงสะท้อนนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการ "ปฏิรูปตำรวจ" แต่ก็ยังไม่ได้หมายความว่าเจ้าหน้าที่ตำรวจทุกคน หรือสำนักงานตำรวจแห่งชาติ จะรู้เห็นหรือสนับสนุนกระบวนการเหล่านี้  
week
อ่าน

โทษของผู้ฝ่าฝืนการเซ็นเซอร์สื่อ

เมื่อมีกฎหมายให้อำนาจเซ็นเซอร์สื่อแล้ว กฎหมายจะมีสภาพบังคับได้ก็ต่อเมื่อมีบทกำหนดโทษของผู้ฝ่าฝืนเอาไว้ด้วย ดังนั้น หากมีคำสั่งจากผู้มีอำนาจ ด้วยเงื่อนไขตามกฎหมายเพื่อปิดกั้นสื่อแล้ว และมีผู้ฝ่าฝืนไม่เชื่อฟัง ยังคงเผยแพร่สื่อนั้นสู่สาธารณะต่อไป ก็ย่อมมีความผิดและมีโทษตามกฎหมาย ซึ่งโทษที่กำหนดไว้ในกฎหมายที่ใช้ควบคุมสื่อแต่ละประเภทก็แตกต่างกันไปตามประเภทของสื่อด้วย