75567439_10162730978515551_7566749824473628672_o
อ่าน

Change.NCPO “ปอนด์” – อภิชาต เจ็ดวันในกองปราบ สามสัปดาห์ในเรือนจำ กับการตัดสินใจหลังได้รับอิสรภาพ

ผมเรียนจบกฎหมาย แต่ไม่อยากไปสอบเป็นทนายความหรือผู้พิพากษา ตัดสินใจไปสมัครงานกับสำนักงาน คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย (คปก.) เพราะอยากเปลี่ยนแปลงในเชิงระบบมากกว่าเป็นรายกรณี ผมได้แรงบันดาลใจมาจากตอนที่เรียนกฎหมายแล้วได้ช่วยต่อสู้จนชาวบ้านที่ไร้สัญชาติได้สัญชาติไทย 60 คน ทำงานได้ไม่ถึง 1 เดือนก็มีรัฐประหาร ได้ยินข่าวว่าจะมีคนจัดชุมนุมคัดค้านการรัฐประหารที่หน้าหอศิลป์ฯ ใช้เวลาไม่นานในการตัดสินใจไปร่วม จำได้ว่าวันนั้นพอเลิกงานก็ปรินท์ข้อความ “ไม่ยอมรับอำนาจเถื่อน” บนกระดาษเอสี่ 10 แผ่นถือติดไปที่ชุมนุม
Change NCPO Template-01
อ่าน

Change.NCPO “Lookade” Chonthicha from student activist to Democracy campaigner

My family background is similar to other middle class families. Prior to the demonstration crackdown in 2010 I was like other teenager who don’t care about politics. During the Red Shirt protest I had never join them. I started to pay attention to politics when the Red Shirt protesters were crackdown. I remember that I saw a magazine called “Voice of Taksin” which written about the demonstration crackdown in the city center of Bangkok. I never know about the Red Shirt before I had neither positive nor negative feeling toward them.
_Change-NCPO
อ่าน

Change.NCPO รังสิมันต์ “โรม” จากนักกิจกรรมนักศึกษาสู่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

ได้กลับมาที่หอศิลป์กรุงเทพครั้งนี้ผมมีความรู้สึกหลายอย่างนะ อย่างแรกเลยผมรู้มาว่าหอศิลป์ฯไม่ได้รับเงินสนับสนุนจากกทม.แล้วก็เลยตั้งคำถามกับตัวเองว่าเราพอจะหาทางช่วยอะไรได้บ้างไหม เพราะกรุงเทพฯ ต้องมีพื้นที่ให้คนได้แสดงออกทางวัฒนธรรม และหอศิลป์ฯก็เป็นหนึ่งในไม่กี่พื้นที่ของกรุงเทพฯที่ทำหน้าที่นั้น คงต้องหาทางช่วยหอศิลป์ในเรื่องนี้เพื่อให้พวกเขา (หอศิลป์กรุงเทพ) รู้สึกมั่นคงและทำหน้าที่ในฐานะพื้นที่ทางวัฒนธรรมให้กับสังคมไทยได้ต่อไป   วันนี้ผมมีความรู้สึกที่แตกต่างไป เห็นเด็กๆมากันเยอะ เห็นคนพลุกพล่าน ได้ยินเสียงคนหัวเราะ มันเป็นความรู้สึกในทางบวก แต่ย้อนก
Change NCPO Template-01
อ่าน

Change.NCPO “ลูกเกด” – ชลธิชา จากนิสิตทำกิจกรรมการเมือง สู่คนทำงานรณรงค์ประชาธิปไตย

โดยพื้นฐานทางครอบครัวเราก็เหมือนชนชั้นกลางทั่วไปนะ ก่อนหน้าการสลายชุมนุมปี 2553 เราก็เหมือนวัยรุ่นทั่วไปที่ไม่ได้สนใจการเมือง ช่วงที่คนเสื้อแดงชุมนุมเราก็ไม่เคยไปชุมนุมกับเขา จุดที่ทำให้เริ่มสนใจการเมืองอย่างจริงจังคือการล้อมปราบคนเสื้อแดง ตอนนั้นเราไปเจอหนังสือเล่มหนึ่ง น่าจะเป็น Voice of Taksin ที่เขียนเรื่องการสลายการชุมนุมที่มีคนตายกลางกรุงเทพฯ ก็เลยเริ่มสนใจตั้งคำถามอะไรหลายๆอย่างกับชีวิต ถ้าจะบอกว่าเราเป็นผลผลิตของความอยุติธรรมที่เกิดขึ้นจากการสลายการชุมนุมปี 2553 ก็คงไม่ผิดนัก ตัวเราเองไม่เคยสนใจการเมือง ไม่เคยรู้จักคนเสื้อแดง ไ
69726628_10162417620195551_2463437745989615616_n
อ่าน

Change.NCPO กลุ่มดาวดิน จากนักศึกษาสู่คนทำงานกับอุดมการณ์ที่ยังคงเดิม

ได้มีโอกาสมายืนตรงนี้ (อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยขอนแก่น) อีกครั้งก็คิดถึงตอนที่ยังเคลื่อนไหวในฐานะนักศึกษา จริงๆแล้วเราเคลื่อนไหวตรงนี้มานานแล้วตั้งแต่ก่อนรัฐประหาร อย่างตอนที่ทำกิจกรรมช่วงที่ กปปส.
4yearspunk
อ่าน

จะสี่ปีแล้วนะ (ไอ้สัตว์!) : สุ้มเสียงแห่งความอึดอัดและการทวงสัญญา

ถ้ารัฐบาลคสช.เข้าสู่อำนาจผ่านการเลือกตั้งในปี 2557 พวกเขาก็จะครบวาระสี่ปีของการทำงานในเดือนพฤษภาคม 2561 และต้องจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไป แล้วถ้าหากประชาชนพึงพอใจการทำงานคสช.ก็จะมีโอกาสได้รับการเลือกตั้งให้ทำงานต่อ แต่หากเป็นไปในทางตรงกันข้ามประชาชนก็จะเลือกพรรคการเมืองใหม่ที่นำเสนอนโยบายเป็นที่พอใจของประชาชนเข้ามาทำหน้าที่แทน แต่เนื่องจากรัฐบาลคสช.ไม่ได้เข้าสู่อำนาจตามกฏิกาปกติหากแต่ผ่านการระบุว่าพวกเขาเป็น “รัฎฐาธิปัตย์” กรอบระยะเวลาการทำงานจึงไม่ใช่ระยะเวลาสี่ปีตามปกติหากแต่เป็นเป็นกรอบเวลาตามที่คสช.ในฐานะผู้มีอำนาจเต็มเห็นควร 
02
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: สิทธิทางสาธารณสุข เพิ่มสิทธิมารดา คำว่า “สิทธิเสมอกัน” หายไป

สิทธิทางด้านสาธารณสุขในร่างรัฐธรรมนูญ เป็นประเด็นที่กระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนทุกคน ขณะที่คนร่างโปรโมตร่างรัฐธรรมนูญนี้ว่าคุ้มครอง “ตั้งแต่ท้องแม่จนถึงแก่เฒ่า” ข้อกังวลของสังคมคือ ถ้าหากร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ผ่านจะเปิดทางให้ “ยกเลิกบัตรทอง” ในอนาคตหรือไม่ 
อ่าน

รวมปรากฎการณ์’น่าเป็นห่วง’ ในชั้นพิจารณาคดีการเมือง หลังรัฐประหาร

ศาลทหารทำโอที ฝากขัง 14 “ประชาธิปไตยใหม่” ตอนเที่ยงคืน    โดยปกติเมื่อเจ้าหน้าที่ตำรวจจับตัวผู้ต้องหาได้จะมีอำนาจควบคุมตัวผู้ต้องหาเพื่อการสอบสวนไม่เกิน 48 ชั่วโมง ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 87 วรรคสาม หากครบ 48 ชั่วโมงเจ้าหน้าที่จะต้องปล่อยตัวผู้ต้องหาหรือนำตัวไปที่ศาลเพื่อขอฝากขัง ซึ่งใน 48 ชั่วโมงนี้ พนักงานสอบสวนก็พอจะมีเวลาทำการสอบสวนเบื้องต้นหรือในกรณีที่ผู้ต้องหาถูกจับกุมนอกเวลาราชการ พนักงานสอบสวนก็ม
18666864743_4c50bbe496_q
อ่าน

ความคิดความเชื่อผู้ต้องขัง #ประชาธิปไตยใหม่: ทำไมไม่ยื่นประกันตัว?

3 กรกฎาคม 2558 ไอลอว์ได้ไปเยี่ยมนักศึกษากลุ่มประชาธิปไตยใหม่ที่เรือนจำพิเศษกรุงเทพ ต่อไปนี้เป็นบทสนทนาที่เราได้คุยกับพวกเขา รัฐพล ศุภโสภณ หรือบาส กล่าวว่า เรายืนยันว่ากระบวนการตั้งแต่ต้นของการทำรัฐประหารไม่ถูกกฎหมาย การใช้อำนาจทุกอย่างตั้งแต่การจับกุมและแจ้งข้อกล่าวหา การขึ้นศาลทหาร ไม่ใช่กระบวนการปกติ เมื่อเริ่มต้นไม่ถูกต้องกระบวนการต่างๆ ที่ตามมาหลังจากนั้นก็ไม่ถูกต้องเหมือนผลไม้ของต้นไม้มีพิษ ก็ย่อมเป็นผลไม้พิษ เราไม่ยอมรับทั้งกระบวนการออกกฎหมายและกระบวนการใช้บังคับ การไม่ประกันตัวเป็นการแสดงว่าไม่ยอมรับเรื่องเหล่านี้<