Amend NCPO's Strategic
อ่าน

การแก้ไขยุทธศาสตร์ชาติ / ยุทธศาสตร์ชาติ คสช.

ยุทธศาสตร์ คสช. ที่จะบังคับใช้ยาวนานถึง 20 ปี ทำให้เกิดคำถามว่าการเขียนยุทธศาสตร์ล่วงหน้านานเป็นสิ่งที่เป็นไปได้จริงหรือ เพราะปัจจุบันโลกเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ดังนั้น การบังคับและการมีบทลงโทษให้รัฐบาลต่างๆ ที่ไม่เดินตามยุทธศาสตร์ คสช. ทำให้ยุทธศาสตร์ คสช. เป็นเสมือนโซ่ตรวนรัดประเทศไม่ให้ก้าวไปข้างหน้า
Protect International Organizations
อ่าน

ร่างพ.ร.บ.เอกสิทธิ์และความคุ้มกันองค์การระหว่างประเทศฯ: องค์การระหว่างประเทศห้ามกระทบความมั่นคง และแทรกแซงกิจการภายใน

สนช. รับหลักการร่าง พ.ร.บ.เอกสิทธิ์และความคุ้มกันสำหรับองค์การระหว่างประเทศฯ ซึ่งจะกำหนดเอกสิทธิ์และความคุ้มกันอย่างเป็นทางการให้กับองค์การระหว่างประเทศที่จะมาตั้งสำนักงานในไทย และบุคลากรของหน่วยงานดังกล่าว รวมถึงการประชุม และผู้เข้าร่วมการประชุมประหว่างประเทศด้วย
NLA members
อ่าน

รัฐธรรมนูญ 2560 ห้าม สนช. ครม. เป็น ส.ส. แต่ไม่ห้ามเป็น ส.ว.

สมาชิก สนช. และ ครม. มาจากการแต่งตั้งใครก็ได้ในตอนแรก แต่เมื่อรัฐธรรมนูญ 2560 บังคับใช้ คุณสมบัติของผู้ใช้อำนาจก็ต้องเป็นไปตามรัฐธรรมนูญด้วย ทำให้สมาชิก สนช. และ ครม. มีเรื่องต้องถูกตรวจสอบมากขึ้น แต่ยังยกเว้นให้เป็นข้าราชการไปด้วย นั่งในสภาไปพร้อมกันได้
National Strategic Plan Committee
อ่าน

“คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ” การสืบทอดอำนาจและควบคุมนักการเมืองของคสช.

แม้ยังไม่เห็นเนื้อร่างยุทธศาสตร์ชาติ แต่ที่เป็นรูปธรรมแน่นอนแล้วคือ “คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ” ว่าจะมีรูปร่างหน้าตาอย่างไร ซึ่งต่อจากนี้ไปคณะกรรมการชุดนี้จะเข้ามาทำหน้าที่ร่างแผนยุทธศาสตร์ชาติฉบับจริง และเมื่อร่างเสร็จก็จะมีบทบาทในการควบคุมและตรวจสอบการทำงานของรัฐบาลชุดต่อๆ ไป  
อ่าน

รัฐธรรมนูญ(ชั่วคราว)’57 สองปีแก้สี่ครั้ง

ระยะเวลาประมาณ 2 ปี 5 เดือน รัฐธรรมนูญชั่วคราว พ.ศ. 2557 ของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ถูกแก้ไขเพิ่มเติมไปแล้วทั้งสิ้น 4 ครั้ง ทุกครั้งใช้เวลาเพียงวันเดียวในการให้ความเห็นชอบ เมื่อเทียบกับรัฐธรรมนูญถาวรเรียกว่า แก้ได้ง่ายกว่ามาก และเมื่อเทียบกับรัฐธรรมนูญชั่วคราวด้วยกันยังไม่มีข้อมูลว่า ในอดีตเคยมีฉบับไหนมีการแก้ไขเพิ่มเติมบ้าง
Cabinet
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: ตีกรอบนโยบายให้คณะรัฐมนตรีทำงานเหมือนข้าราชการประจำ

ประเด็น ครม.ในร่างรัฐธรรมนูญฉบับมีชัย ฤชุพันธุ์ พรรคเพื่อไทยและนักวิชาการบางส่วนวิจารณ์ว่า ให้อำนาจกับองค์กรตุลาการและองค์กรอิสระตรวจสอบฝ่ายรัฐบาลซึ่งมีที่มาจากประชาชนแต่เพียงฝ่ายเดียว ขัดแย้งกับหลักตรวจสอบถ่วงดุล ในทางตรงข้าม กรธ.อธิบายว่า เพียงแต่เพิ่มกลไกในการตรวจสอบการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นเท่านั้น
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: สร้างมาตรฐานจริยธรรม ควบคุมฝ่ายการเมือง

ในร่างรัฐธรรมนูญฉบับมีชัย มีกลไกปราบโกงในหลายระดับ ซึ่งอำนาจตรวจสอบและกำหนดขั้นตอนการลงโทษเหล่านี้ กรธ.ตัดสินใจมอบอำนาจหน้าที่ให้กับศาลรัฐธรรมนูญและองค์กรอิสระเป็นหลัก โดยมีหนึ่งในเครื่องมือที่สำคัญ คือ “มาตรฐานทางจริยธรรม”
Lartsak: type of the Thai junta law
อ่าน

ลักษณะกฎหมายในยุคเผด็จการทหาร คสช.

ในสังคมอารยะ รัฐจะต้องไม่ทำลายอุดมคติเพื่อมวลมนุษยชาติและการใช้อำนาจจะต้องยึดโยงกับประชาชน  ไม่ใช่เพื่อสร้างระบบราชการอันเข้มแข็งที่ทำลายความรู้สึกมั่นคงปลอดภัย ในการใช้ชีวิตของประชาชน

ร่าง พ.ร.บ.แร่ “รัฐไม่ต้องเผยข้อมูล หากกระทบความมั่นคง”

ร่าง พ.ร.บ.แร่ เข้าสู่วาระการประชุม สนช. 11 มี.ค.59 เป็นการปรับปรุง พ.ร.บ.แร่ พ.ศ.2510 และ พ.ร.บ.พิกัดอัตราค่าภาคหลวงแร่ พ.ศ.2509 เหตุผลการแก้ไขเนื่องจากเนื้อหากฎหมายเดิมบางส่วนไม่เหมาะสมกับปัจจุบัน แม้มีการแก้ไขแต่เนื้อหาหลายส่วนยังคงมีปัญหา เพราะดูจะเอื้อประโยชน์ให้กับนายทุนมากกว่า