constitution B.E. 2560 article 147
อ่าน

ได้ครม. ชุดใหม่ช้า กฎหมายค้างท่อสภาชุดก่อนหมดโอกาสพิจารณาต่อจากเดิม

ตามรัฐธรรมนูญ เมื่อยุบสภาหรือสภาหมดอายุ ร่างกฎหมายที่รัฐสภายังไม่ได้เห็นชอบ จะ "ตกไป" แต่ก็ยังมีช่องให้ร่างกฎหมายเหล่านั้นได้พิจารณาต่อได้ ถ้าครม. ชุดใหม่หลังเลือกตั้ง ขอมติจากรัฐสภาให้พิจารณาร่างกฎหมายนั้นต่อไป เงื่อนไขสำคัญ คือ ครม. ต้องขอภายใน 60 วันหลังประชุมรัฐสภาวันแรก
constitutional court news
อ่าน

ศาลรธน. ไม่รับคำร้องปมสภาห้ามเสนอชื่อโหวต “พิธา” ซ้ำ เหตุผู้ร้องไม่ใช่ผู้ถูกละเมิดสิทธิตรง

วันที่ 16 สิงหาคม 2566 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติไม่รับคำร้องกรณีสภาไม่ให้เสนอชื่อโหวตพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ แคนดิเดตนายกรัฐมนตรีซ้ำเป็นรอบที่สอง ระบุว่า ผู้ที่มีสิทธิยื่นเรื่องได้ต้องเป็นผู้ที่ได้รับการละเมิดสิทธิโดยตรงเท่านั้น
review Wan Muhamad Noor Matha's works as President of Parliament
อ่าน

ตรวจการบ้าน 1 เดือนประธานสภา ส่องผลงานเด็ด ทำอะไรไปบ้าง?

สิงหาคม 66 ครบรอบหนึ่งเดือนประธานสภา ประธานรัฐสภานัดประชุมร่วมรัฐสภาไปแล้วสี่ครั้ง สั่งงดประชุมไปหนึ่งครั้ง สามครั้งที่เหลือ ก็เกิดเหตุการณ์ที่ “ชวนสับสน” ทั้งการลงมติตีความว่าการเสนอชื่อนายกฯ ซ้ำขัดต่อข้อบังคับการประชุมรัฐสภา ทั้งประธานรัฐสภาชิงปิดประชุมหนีทั้งที่การประชุมเพิ่งผ่านไปได้สองชั่วโมง
อ่าน

รัฐสภามีมติ เสนอชื่อแคนดิเดตนายกฯ ที่โหวตไม่ผ่านซ้ำอีกรอบไม่ได้

19 กรกฎาคม 2566 ที่ประชุมรัฐสภา 395 เสียง มีมติว่า การเสนอชื่อนายกรัฐมนตรีคนเดิมที่เคยลงมติไปแล้วเป็นการเสนอญัตติซ้ำ ต้องห้ามตามข้อบังคับข้อ 41 ส่งผลให้ในสมัยประชุมนี้เสนอชื่อพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ ให้เป็นนายกฯ ไม่ได้อีก
Vote PM
อ่าน

Fact-checking : โหวตนายกฯ ไม่ใช่ญัตติทั่วไป เป็นการดำเนินการตามรัฐธรรมนูญ

ระหว่างที่ประชุมรัฐสภาจะลงมติเลือกนายกฯ ครั้งที่สอง และมีผู้เสนอชื่อพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ ฝั่งอัครเดช วงษ์พิทักษ์โรจน์ ส.ส.พรรครวมไทยสร้างชาติ ลุกขึ้นประท้วงว่าเป็นญัตติซ้ำ ทั้งที่กระบวนการนี้ไม่ใช่ญัตติ และข้อบังคับการประชุมไม่ใหญ่กว่ารัฐธรรมนูญ
Motion for Vote PM
อ่าน

เลือกนายกฯ ไม่เหมือน ‘ญัตติ’ ทั่วไปตามข้อบังคับฯ โหวตซ้ำกี่รอบก็ได้

การเลือกพิธาเป็นนายกฯ ครั้งที่สองในวันที่ 19 กรกฎาคม 2566 ของแปดพรรคเสียงข้างมาก กลับต้องเจอโจทย์ใหม่ เมื่อวุฒิสภาและฝ่ายพรรคเสียงข้างน้อยส่วนหนึ่งเห็นว่า การเสนอชื่อพิธาเป็นนายกฯ เป็นการเสนอญัตติซ้ำ ซึ่งขัดกับข้อบังคับการประชุมรัฐสภา
con-1
อ่าน

ร่างรัฐธรรมนูญประชาชนต้องไปต่อ สภาต้องบรรจุสมัยหน้าพิจารณาพร้อมร่างพรรครัฐบาล-ฝ่ายค้าน

24 กันยายน 2563 ที่ประชุมรัฐสภามีมติเสียงข้างมากให้ตั้งคณะกรรมาธิการเพื่อพิจารณาญัตติแก้รัฐธรรมนูญที่พรรคร่วมรัฐบาลและพรรคร่วมฝ่ายค้านเป็นผู้เสนอก่อนลงมติรับหลักการ (วาระแรก) โดยคาดว่าต้องใช้กรอบเวลาพิจารณาประมาณ 30 วัน และเริ่มพิจารณาใหม่อีกครั้งในสมัยประชุมหน้า