Thailand didn't have the government for 109 days
อ่าน

ประเทศไทยไร้รัฐบาล 109 วัน! อันดับหนึ่งการเลือกตั้งที่รอรัฐบาลใหม่นานที่สุดของไทย

หลังการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2566 หากนับว่าเช้าวันที่ 15 พฤษภาคม 2566 คือวันแรกของการรอคอยการจัดตั้งรัฐบาล วันนี้ วันที่ 1 กันยายน 2566 จะใช้เวลาทั้งสิ้น 109 วันจึงมีหนังสือพระบรมราชโอการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี หรือ ครม. ทำให้การเลือกตั้ง 2566 คว้าตำแหน่งอันดับหนึ่งของการรอรัฐบาลใหม่ที่ยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์การเมืองไทย   ในอดีตนั้น การเลือกตั้งที่ใช้เวลานานที่สุดเพื่อให้มีรัฐบาลใหม่ คือ การเลือกตั้งครั้งที่ 26 เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2562 ซึ่งใช้เวลาทั้งสิ้น 107 วัน จึงจะมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคณะรัฐมนตรีขึ้น โดยในครั้งนั้นได้พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรี   การเลือกตั้งปี 2566 ขึ้นมาเป็นอันดับหนึ่งด้านความล่าช้าของการมีรัฐบาลมากกว่า “ค่าเฉลี่ยวันรอรัฐบาล” ของไทย ซึ่งอยู่ที่ประมาณ 31 วัน รวมทั้งยังยิ่งชี้ให้เห็นว่า การเลือกตั้งที่คนไทยใช้เวลามากที่สุดกว่าจะมีรัฐบาลใหม่นั้น ต่างเกิดภายใต้กติกาของรัฐธรรมนูญ 2560 ทั้งสิ้น
66 days after elections still don't have government
อ่าน

เลือกตั้ง’66 : ทะลุขึ้นอันดับสอง “รอรัฐบาลใหม่” 66 วัน ก็ยังตั้งไม่ได้!

ขณะที่ “ค่าเฉลี่ยวันรอรัฐบาล” อยู่ที่ 31 วันจากการเลือกตั้งของไทยทั้งหมด 27 ครั้ง ซึ่งการเลือกตั้ง 2566 ภายใต้รัฐธรรมนูญ 2560 ทะยานสู่อันดับสองของการเลือกตั้งที่ทำให้ประชาชนรอการมีรัฐบาลใหม่ยาวนานที่สุด
How Long Thailand could form a government
อ่าน

“Top 6 การเลือกตั้งไทย” ที่ใช้เวลาจัดตั้งรัฐบาลยาวนานที่สุด

หลังการเลือกตั้งทั่วไป 2566 ประเทศไทยกำลังเดินหน้าเข้าสู่สภาวะไร้รัฐบาลที่มีอำนาจเต็ม ที่ผ่านมาการเลือกตั้งไทย 27 ครั้ง มีระยะเวลาที่แตกต่างกัน ต่อไปนี้คือหกอันดับการจัดตั้งรัฐบาลในระยะเปลี่ยนผ่านจากรัฐบาลเก่าสู่รัฐบาลใหม่ ที่ยาวนานที่สุดของประเทศไทย
2023 election observers network
อ่าน

เครือข่ายประชาชนสังเกตการณ์เลือกตั้ง 66’ ทวงถามผลเลือกตั้งจาก กกต. หลังครบหนึ่งเดือน

เครือข่ายประชาชนสังเกตการณ์เลือกตั้ง 66 มีความกังวลใจว่าความล่าช้า และไม่ชัดเจนของกระบวนการรับรองส.ส. ส่งผลต่อความเชื่อมั่นและความต้องการของประชาชนในการจัดการเลือกตั้งของกกต. จึงเรียกร้องให้กกต. ประกาศงผลการเลือกตั้งอย่างเป็นทางการโดยเร็วที่สุด
an election in advance
อ่าน

ถามมา ตอบไป รวมฮิต 10 ข้อสงสัย “เลือกตั้งล่วงหน้า-นอกราชอาณาจักร”

ชวนดู 10 คำถามยอดฮิตเกี่ยวกับการลงทะเบียนเลือกตั้งล่วงหน้าและเลือกตั้งนอกราชอาณาจักรที่มีผู้สอบถามเข้ามาทางช่องแชทหลังบ้านของเรา ดังต่อไปนี้
witness in election fraud case
อ่าน

เลือกตั้ง 66: โกงเลือกตั้งกลับใจอาจไม่ต้องรับผิด หากสมัครใจให้ข้อมูลสำคัญ

ในการเลือกตั้งระดับประเทศไปจนถึงระดับท้องถิ่น อาจพบเหตุการณ์ที่ส่อไปในทางทุจริตเลือกตั้ง หลายกรณีมีความซับซ้อนเจ้าหน้าที่รัฐสามารถจับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทุจริตได้ แต่บุคคลดังกล่าวไม่ได้เป็นตัวการหลัก มาตรการสำคัญอย่างหนึ่งในสืบสาวไปยังต้นทางผู้กระทำผิด คือ การยกประโยชน์ให้จำเลย หรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องแลกกับการที่บุคคลดังกล่าวให้ข้อมูลที่ซัดทอดไปถึงตัวการสำคัญได้
Open Data Day
อ่าน

เสวนาวัน Open Data ยันผู้มีอำนาจต้องโปร่งใส ภาคประชาชน-สื่อพร้อมช่วย กกต. ทำงาน

4 มีนาคม 2566 เนื่องในวันเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ WeVis จัดงาน ‘Open Data Day 2023 – Open Data การเมืองไทย’ ภายในงานประกอบไปด้วยสองวงเสวนาเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะโดยเฉพาะในการเลือกตั้งทั่วไป 2566 จากตัวแทนพรรคการเมือง สื่อมวลชน ภาครัฐ และภาคประชาสังคม
ECT Meeting
อ่าน

เลือกตั้ง66 : กกต. ขอภาคประชาชน ช่วยอธิบายขั้นตอนการจัดเลือกตั้ง

ศูนย์นิติศาสตร์ มธ. พร้อมด้วย iLaw และ We Watch เข้าพูดคุยกับกกต. เพื่อหารือแนวทางปฏิบัติที่จะเกิดขึ้นในการเลือกตั้งที่จะถึง และหาทางทำงานร่วมกันเพื่อให้การเลือกตั้งเกิดขึ้นโดยบริสุทธิ์โปร่งใสที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้
The use of technology in election
อ่าน

เลือกตั้งใช้เทคโนโลยีล้ำแค่ไหน ก็ไม่สำคัญเท่าเลือกตั้งที่เสรี เป็นธรรม และประชาชนมีส่วนร่วม

แม้การนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการเลือกตั้งจะดูเป็นสิ่งที่น่าสนใจและน่าตื่นเต้น แต่การจะนำเทคโนโลยีใดมาใช้จะต้องผ่านการคิดที่ถี่ถ้วนเสียก่อนว่าเทคโนโลยีที่จะนำมาใช้จะรับประกันการเลือกตั้งที่เสรี เป็นธรรมและประชาชนมีส่วนร่วมได้อย่างแท้จริงหรือไม่
328625914_554949813249054_1004401012621167081_n
อ่าน

กกต.แจงวิธีคำนวณแบ่งเขตเลือกตั้ง หลังสมชัยท้วงนิยาม “จำนวนราษฎร”

จากกรณีที่อดีตกกต.ตั้งคำถามถึงการแบ่งเขตเลือกตั้งจากการคำนวณราษฎรรวมบุคคลที่ไม่มีสัญชาติไทยด้วยเป็นค่าฐานในการหาค่าเฉลี่ยจำนวนราษฎรต่อส.ส.หนึ่งคนกกต.ชี้แจงว่า นิยามจำนวนราษฎรถูกต้องโดยยกความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ 1) กรณีอำเภอแม่สอด จังหวัดตากประกอบ