initiative law by bad student
อ่าน

ร่างพ.ร.บ.สิทธิมนุษยชนผู้เรียน หลักประกันความปลอดภัยให้กับเด็กในโรงเรียน

กลุ่มนักเรียนเลวได้จัดทำร่างพ.ร.บ.สิทธิมนุษยชนผู้เรียนฯ เพื่อให้ประชาชนทั้งเด็กและผู้ใหญ่ร่วมกันเข้าชื่อ โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็นสามหมวด หมวดแรก สิทธิมนุษยชนผู้เรียน หมวดสอง สภาพแวดล้อมและสวัสดิภาพ หมวดสาม การมีส่วนร่วมของผู้เรียน ธัญชนก คชพัชรินทร์ หรือแบม ตัวแทนจากกลุ่มนักเรียนเลวกล่าวว่า  “เราอยากสร้างกฎหมายที่ให้เด็กเป็นประธานในประโยค เพื่อบอกว่าเด็กมีสิทธิตรงนี้ สังคมต้องจัดหาให้เขา เราคาดหวังให้คนรับรู้ถึงสิทธิที่ตัวเองมีมากขึ้นและสามารถใช้กฎหมายนี้เพื่อยืนยันสิทธิของตัวเองได้”
51309642352_e7fc64ce0c_k_1
อ่าน

รวมบทความ “วัยเยาว์ที่สาบสูญ” ระดับมัธยมศึกษา

ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด 19 ที่ยืดเยื้อมาเป็นปีที่สอง นักเรียนและนักศึกษาเป็นกลุ่มที่ได้รับผลกระทบอย่างหนักหน่วง ไอลอว์ชวนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาเขียนความในใจเล่าประสบการณ์การเรียนออนไลน์ที่ผ่านมา
Online School
อ่าน

รวมความเรียง โควิด19 กับวัยเยาว์ที่สาบสูญ ระดับมหาวิทยาลัย

เป็นวัยรุ่นยุคโควิด19 มันไม่ง่าย ชวนฟังความในใจของนักศึกษามหาวิทยาลัยกับผลกระทบจากโควิด19 ทั้งการเรียนออนไลน์ที่ไม่ง่าย โอกาสในการเจอเพื่อนใหม่และการทำงานภาคปฏิบัติที่เสียไป และเรื่องหนักอกเมื่อ "บ้าน" อาจไม่ใช่พื้นที่เหมาะสมสำหรับการเรียนออนไลน์ และเสียงสะท้อนถึงผู้มีอำนาจว่าปัญหาใดคือเรื่องที่ต้องแก้ไขเร่งด่วน
10 วันเฉลิม copy
อ่าน

เปิดเรื่องเล่าผู้ลี้ภัย ม.112 และผู้ถูกอุ้มหายในต่างแดน

            ความโหดร้ายของการดำเนินคดีกับการลงโทษด้วยมาตรา 112 และความจริงที่คนถูกตั้งข้อหาจำนวนไม่น้อยต้องเข้าเรือนจำ นำมาซึ่งภาพลักษณ์ที่คนที่ถูกดำเนินคดีเอาการ “หนีไปอยู่ต่างประเทศ” มาเป็นทางเลือก หรือที่เรียกว่าการ “ลี้ภัย”

Welfare in Constitution
อ่าน

“รัฐธรรมนูญใหม่ ที่มีรัฐสวัสดิการ เป็นหลักประกันคุณภาพชีวิตของประชาชน”

เปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 พ.ศ.2550 และ พ.ศ.2560 สามด้าน คือ การศึกษา สุขภาพ และผู้สูงอายุ พบว่า ทั้งสามฉบับมีการกำหนดโครงสร้างด้าน “สวัสดิการ” ไว้บ้าง แต่ตั้งอยู่บนพื้นฐานแนวคิด “การสงเคราะห์ ช่วยเหลือ” มากกว่าที่จะกำหนดให้เป็นสิทธิของประชาชน
อ่าน

เปิดดูวิจัย การรังแกกลุ่มนักเรียน LGBT ในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาของไทย

รายงานการวิจัยเผยให้เห็นว่านักเรียน 'LGBT' มากกว่าครึ่งเคยถูกรังแกเพราะว่าเป็น 'LGBT' และ 1 ใน 4 ของนักเรียนที่ถูกมองว่าเป็น 'LGBT' ก็ถูกรังแกด้วยสาเหตุเดียวกัน
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: เมื่อ “สิทธิเสรีภาพ” เขียนใหม่เป็น “หน้าที่ของรัฐ”

ร่างรัฐธรรมนูญฉบับ 2559 เขียนหมวดหน้าที่ของรัฐขึ้นมาเป็นครั้งแรก และเขียนสิทธิหลายประการใหม่ไว้ในหน้าที่ของรัฐแทน หลายฝ่ายกังวลว่า จะเป็นการตัดสิทธิของประชาชน ด้านกรธ. มองว่า เขียนแบบนี้คุ้มครองได้มากกว่า
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: การศึกษาไม่เป็น “สิทธิ” รัฐต้องจัดเรียนฟรี 12 ปี จากอนุบาล 1 ถึง ม.3

ที่ผ่านมารัฐธรรมนูญของไทยรับรองสิทธิการศึกษาฟรี 12 ปี ป.1-ม.6 ร่างฉบับใหม่คงสิทธิ 12 ปีไว้เท่าเดิมแต่ให้ร่นมาเริ่มเร็วขึ้นตั้งแต่ก่อนวัยเรียน จึงจบเรียนฟรีที่ม.3 และให้มีกองทุนช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ แนวทางจัดการศึกษามุ่งให้เป็นคนดีมีวินัย ภูมิใจในชาติ 
lomyong
อ่าน

อยากทำการศึกษาในระบบให้เป็นทางเลือกหนึ่ง

ประเด็นความตกต่ำของการศึกษาไทยเป็นที่ถกเถียงซ้ำแล้วซ้ำเล่า iLaw สนทนากับ ลำยอง เตียสกุล และ จิรพันธ์ สำเริงเรือง สองสาวใจดีจากเครือข่ายการศึกษาเพื่อเด็ก  งานนี้ทั้งสองจะสะท้อนมุมมองของภาคประชาชนต่อปัญหาการศึกษาและทางเลือกทางการศึกษาของประเทศไทย 
อ่าน

“การศึกษาไทย เอาไงดีวะ!?”

iLaw ขอเชิญชวนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา นักเรียนอาชีวะ และบุคคลทั่วไปร่วมประกวดคลิปวิดิโอความยาวไม่เกิน 7 นาที ในแนวคิด "การศึกษาไทย เอาไงดีวะ" นำเสนอไอเดียปฏิรูปการศึกษาใหม่ๆ ที่ไม่พูดวนไปมาอยู่ในอ่าง