constitution B.E. 2560 article 147
อ่าน

ได้ครม. ชุดใหม่ช้า กฎหมายค้างท่อสภาชุดก่อนหมดโอกาสพิจารณาต่อจากเดิม

ตามรัฐธรรมนูญ เมื่อยุบสภาหรือสภาหมดอายุ ร่างกฎหมายที่รัฐสภายังไม่ได้เห็นชอบ จะ "ตกไป" แต่ก็ยังมีช่องให้ร่างกฎหมายเหล่านั้นได้พิจารณาต่อได้ ถ้าครม. ชุดใหม่หลังเลือกตั้ง ขอมติจากรัฐสภาให้พิจารณาร่างกฎหมายนั้นต่อไป เงื่อนไขสำคัญ คือ ครม. ต้องขอภายใน 60 วันหลังประชุมรัฐสภาวันแรก
52167031076_200658a4db_o
อ่าน

สภาหุ่นยนต์! ส.ว.แต่งตั้ง ผ่านกฎหมายอย่างน้อย 40 ฉบับ โหวตทางเดียวกันไม่แตกแถวถึง 98%

ตามรัฐธรรมนูญ ปี 2560 วุฒิสภาในฐานะอำนาจฝ่ายนิติบัญญัติมีหน้าที่สำคัญประการหนึ่ง คือ "การกลั่นกรองกฎหมาย" ที่มาจากสภาผู้แทนราษฎรให้มีความรัดกุมรอบคอบ โดยหลังจากที่สภาผู้แทนราษฎรให้ความเห็นชอบกฎหมายแล้ว จะต้องส่งให้วุฒิสภาพิจารณาให้ความเห็นชอบอีกครั้ง เพื่อให้เกิดการตรวจสอบถ่วงดุลอีกหนึ่งชั้นก่อนที่กฎหมายจะมีผลบังคับใช้ แต่ทว่า ด้วยที่มาของสมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) ตามรัฐธรรมนูญ ปี 2560 ที่กำหนดให้คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เป็นคนคัดเลือกด่านสุดท้าย ทำให้การออกกฎหมายที่เสนอโดยรัฐบาลคสช. หรือ การเสนอกฎหมายโดยคณะรัฐมนตรี (ครม.) ที่นำโดย พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตหัวหน้าคสช. ไม่ค่อยถูกตรวจสอบถ่วงดุลเท่าที่ควร
parliament meeting
อ่าน

เช็คเรียงพรรคปมสภาล่ม ก่อนลงมติ #สุราก้าวหน้า เพื่อไทยเทร่วมร้อย ส.ส.พรรคร่วมรัฐบาลหาย 76 คน

2 ก.พ. 2565 สภาผู้แทนราษฎรมีนัดพิจารณาร่างกฎหมาย #สุราก้าวหน้า ก่อนจะลงมติว่าสภาฯ จะให้ครม. นำร่างกฎหมายดังกล่าวไปพิจารณาก่อนรับหลักการหรือไม่ ปรากฏว่าองค์ประชุมไม่ครบ #สภาล่ม ส.ส. พรรคเพื่อไทยไม่แสดงตนร่วมร้อย ขณะที่ส.ส.พรรคร่วมรัฐบาลไม่แสดงตน 76 คน
50143597848_9e4ed625fc_o
อ่าน

ชวนจับตา! รัฐบาลใช้ทางลัด ให้ ส.ว. โหวตกฎหมายพร้อม ส.ส. อ้างว่าเป็น “กฎหมายปฏิรูป”

24 กรกฎาคม 2563 ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภามีนัดพิจารณา "กฎหมายปฏิรูป" อย่างน้อย 3 ฉบับ  การพิจารณากฎหมายดังกล่าวในที่ประชุมร่วมกันของสองสภาทำให้ 'รัฐบาล คสช.' มีความได้เปรียบในการผ่านกฎหมาย
NLA 2 years
อ่าน

2 ปี สนช.: ผ่านกฎหมายอย่างน้อย 179 ฉบับ แม้ผ่านกฎหมายน้อยลง แต่ปัญหายังมีอยู่

ครบรอบสองปี สนช.ยังคงเดินหน้าออกกฎหมายอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้หน้าที่การแต่งตั้งสรรหาบุคคลให้ดำรงแหน่งสำคัญยังดำเนินต่อไป และล่าสุดมีการเพิ่มจำนวน สนช.อีก 30 คน แต่จำนวนการเข้าประชุม สนช.ที่เป็นอยู่เดิมดูยังจะใช้ไม่เต็มประสิทธิภาพ
nla
อ่าน

สนช. “ประยุทธ์” แค่เบอร์สอง แพ้ยุค “อานันท์”

หากให้นับจำนวนการพิจารณากฎหมายของสภานิติบัญญัติในอดีต จะพบว่า รัฐบาลประยุทธ์เป็นแค่เบอร์สอง แพ้รัฐบาลอานันท์ ปันยารชุน ที่มีการผ่านกฎหมายมากที่สุด (189 ฉบับ) ส่วนยุคที่ไม่มีการผ่านกฎหมายเลย คือสมัยรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช และรัฐบาลนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์