Slapps siminar
อ่าน

ยุคสมัยที่ใช้คดี “ปิดปาก” พูดเรื่องเขื่อน-แรงงาน-ซ้อมทรมาน-การเมือง ถูกฟ้องได้หมด

สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชนจัดงานเสวนาสถานการณ์คดี "ปิดปาก" หรือ SLAPPS ผู้ที่ถูกดำเนินคดีจากการแสดงความคิดเห็นในประเด็นสาธารณะมาแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ทั้งนักกิจกรรมที่เคลื่อนไหวทางการเมือง ประชาชนที่เคลื่อนไหวเพื่อปกป้องทรัพยากร และคนทำงานด้านสิทธิมนุษยชนที่รายงานเรื่องสิทธิแรงงาน และการซ้อมทรมานในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
อ่าน

ยุค คสช. แก้ประมวล “วิ.อาญา” แล้ว 4 ครั้ง เพื่อความยุติธรรมหรือจำกัดอำนาจทางการเมือง?

หลังยุค คสช. มีการแก้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาถึงสี่ครั้ง เป็นการแก้ไขโดยประกาศของคณะรัฐประหาร หนึ่งครั้งและเป็นแก้ไขโดยการออกพ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติม โดย สนช. ที่แต่งตั้งโดยคณะรัฐประหารอีกสามครั้ง ซึ่งมีข้อสังเกตถึงการแก้กฎหมายฉบับนี้ว่าเป็นการแก้เพื่อจำกัดอำนาจทางการเมืองของบุคคลบางกลุ่มหรือไม่
17498529_10212976810958428_4153128058490671166_n
อ่าน

ถนนยุติธรรมที่แสน “ขรุขระ” และ “ทอดยาว” ของผู้ต้องหาประชามติ

21 มีนาคม 2560 ศาลจังหวัดราชบุรีสั่งห้ามจดบันทึกคำเบิกความและการสืบพยานคดีสติกเกอร์โหวตโน ความผิดตาม พ.ร.บ.ประชามติฯ แม้อาจจะลดการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการยุติธรรม
Sawatree Suksri
อ่าน

เสวนา “คำพิพากศาล” นักวิชาการชี้ รัฐใช้ ม.112 เป็นกลไกสร้างความกลัว – การบังคับใช้กฎหมายขึ้นอยู่กับว่า คุณเป็นใคร?

สาวตรี สุขศรี คณะนิติศาสตร์ มธ. กล่าวในงานเสวนา "คำพิพากศาล" ว่า กฎหมายอาญามาตรา 112 เป็นกลไกรัฐในการสร้างความกลัว และเป็นกระบวนการยุติธรรมเชิงบีบบังคับให้จนมุม ด้าน สมชาย ปรีชาศิลปกุล คณะนิติศาสตร์ มช. มองว่าปัจจุบันสังคมไทยอยู่ในภาวะ 1 ระบบ 3 มาตรฐาน การบังคับใช้กฎหมายต่างๆ ขึ้นอยู่กับว่า บังคับใช้กับใคร กลุ่มประชาชนทั่วไป ผู้ต่อต้าน หรือสนับสนุนรัฐ
25590601095716_IMG_1334
อ่าน

“ประพฤติตนไม่เรียบร้อยในบริเวณศาล” ตีความกว้างไกลให้อะไรๆ ก็เป็นละเมิดอำนาจศาลได้

“ประพฤติตนไม่เรียบร้อย” ในความผิดฐานละเมิดอำนาจศาลถูกตีความกว้าง และแนวพิพากษายังกลับไปกลับมาไม่ตายตัว
51188015477_0936524fb6_c
อ่าน

ดูหมิ่นศาล-ละเมิดอำนาจศาล กฎหมายปกป้องศาลจากการวิจารณ์

เมื่อสถาบันศาลกลายมาเป็นผู้เล่นตัวหนึ่งในความขัดแย้งทางการเมือง ผู้ที่เสียเปรียบทางการเมืองจึงมักถูกลากให้ยืนตรงข้ามกับสถาบันศาลไปด้วย ความผิดฐาน “ดูหมิ่นศาล” และความผิดฐาน “ละเมิดอำนาจศาล” จึงเข้ามามีบทบาทสำคัญเพื่อปิดกั้นการเคลื่อนไหวและการวิพากษ์วิจารณ์
อ่าน

อีกมุมของการ ‘โกนผม’ การทำผิด การประจาน ความอับอาย

การโกนผมมีความแตกต่างกันไปตามบริบทของพื้นที่และเวลา ในกระบวนการยุติธรรมการโกนหัวนั่นแสดงถึงอำนาจของรัฐในการควบคุมประชาชน โดยผู้ที่โกนจะถูกตราว่าเป็นผู้กระทำผิด และเป็นการประจานทำให้อับอายและเสียชื่อเสียง ทั้งๆ ที่ในบางกรณีตัวผู้ต้องหาเองยังไม่ได้ถูกจำคุกหรือถูกศาลตัดสินว่ามีความผิด
7454255836_bbaa68743a
อ่าน

รื้อถอนมายาคติ “การซ้อมทรมาน” กันอีกสักครั้ง?

การซ้อมทรมานยังเป็นเรื่องที่เต็มไปด้วยข้อถกเถียงถึงความคุ้มค่าและปัญหาด้านจริยธรรม ดังนั้นเพื่อร่วมกันหาทางออก ไอลอว์ จึงขอหยิบยกเหตุผลของผู้ที่เห็นความจำเป็นในการซ้อมทรมานและเหตุผลที่ต้องคัดค้านเพื่อให้ทุกคนทบทวนอีกครั้งว่า “เรายัง ‘รับได้’ กับการซ้อมทรมานหรือเปล่า”
cabinet
อ่าน

ข้อสังเกตต่อคำแถลงนโยบายของรัฐบาล เทียบจากผลงาน คสช.

คำแถลงของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีประกอบไปด้วย 11 ประเด็น หลักสำคัญ คือ กำหนดนโยบายเพื่อให้สอดรับกับการบริหารราชการแผ่นดิน การปฏิรูปในด้านต่างๆ ส่งเสริมความสามัคคีและความสมานฉันท์ แต่ก็มีหลายประเด็นที่รัฐบาลใหม่ควรดำเนินการไม่ให้กระทบกระเทือนต่อสิทธิเสรีภาพของประชาชน 
41/2557
อ่าน

“41/2557” สิทธิเสรีภาพ ท่ามกลางการเรียกรายงานตัวต่อ คสช.

การฉีกรัฐธรรมนูญ 2550 แง่หนึ่งหมายถึงการฉีกสิทธิเสรีภาพของประชาชนตามกฏหมายไทยไป ผลในทางปฏิบัติคือการออกคำสั่งเรียกบุคคลมารายงานตัวของ คสช. และตอกย้ำยิ่งขึ้นกับประกาศที่ 41/2557 กำหนดให้ผู้ไม่มารายงานตัวมีความผิด น่าสนใจประกาศนี้สำคัญอย่างไรในทางกฏหมายและการเมือง?