10 REASONS
อ่าน

10 เหตุผล ประชามติ’ 59 ไม่อาจใช้อ้างความชอบธรรมให้รัฐธรรมนูญ

ถึงปี 2563 แล้วก็ยังมีคนที่ต้องการรักษาอำนาจให้ คสช.​ อ้างเหตุผลว่า รัฐธรรมนูญ 2560 "ผ่านประชามติมาแล้ว" และยืนยันที่จะไม่แก้ยอมให้แก้ไข ลองดูกันว่า ข้ออ้างนี้ไม่ถูกต้องอย่างไร
610610-seminar
อ่าน

กรธ.-สนช. เชื่อ องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญใหม่มีความกล้าหาญและคุณธรรม

ในวงเสวนา ตัวแทนจาก กรธ. และ สนช. มีความเชื่อมั่นในการทำงานขององค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญใหม่ เพราะมีการเพิ่มอำนาจ และการกำหนดที่มาและคุณสมบัติให้เข้มข้นยิ่งขึ้น ส่วนนักวิชาการชี้ว่า ประเด็นการเลือกเซ็ตซีโร่บางองค์กรจะทำให้ถูกครหา และการเขียนคุณสมบัติว่าต้องซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์อาจจะทำให้ตกเป็นเครื่องมือทางการเมือง
อ่าน

เทคนิคใหม่ ‘ยื้อเลือกตั้ง’ ให้ศาลตีความกฎหมาย ส.ว.

แม้ คสช. จะพยายามหาเทคนิคใหม่ๆ มาเลื่อนเลือกตั้งไปแล้วถึง 4 ครั้ง ไล่ตั้งแต่ แก้รัฐธรรมนูญชั่วคราวฯ 2557, คว่ำร่างรัฐธรรมนูญฉบับบวรศักดิ์แล้วร่างใหม่, แก้รัฐธรรมนูญชั่วคราวตามที่พระมหากษัตริย์พระราชทานข้อสังเกต จนมาถึงขยายเวลาบังคับใช้กฎหมาย ส.ส. ออกไปอีก 90 วัน และล่าสุดดูเหมือน คสช. จะพบเทคนิคใหม่ โดยให้ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ หรือ สนช. ยื่นศาลรัฐธรรมนูญตีความร่างกฎหมายลูก ส.ว.
อ่าน

ทำความรู้จัก ‘ผู้คุมกฎการเลือกตั้ง’ กับลูกเล่นที่มากกว่าเดิม

ก่อนจะไปสู่การเลือกตั้ง สิ่งสำคัญก็คือ การสำรวจดูว่า ใครกันที่จะมาทำเป็นหน้าที่กรรมการ ทั้งนี้ จากการสำรวจ พ.ร.ป.ว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง พบว่า ขนาดของ กกต.ใหญ่ขึ้น เพราะจำนวนกรรมการกกต.ที่เพิ่มขึ้นจากเดิม นอกจากนี้ กฎหมายยังเพิ่มกลไกใหม่ๆ เข้าไปอีก อย่างเช่น ผู้ตรวจการเลือกตั้ง แถมยังมีอำนาจระงับการเลือกตั้ง รวมถึงเพิกถอนสิทธิรับเลือกตั้งชั่วคราวได้อีก
Meechai
อ่าน

เจาะเทคนิคเขียนรัฐธรรมนูญ “ซ่อนแอบ” แบบมีชัย อ่านไม่เข้าใจแต่แฝงกลไกกินรวบอำนาจ

หลายคนอาจจะอ่านรัฐธรรมนูญ 2560 แล้วต้องกุมขมับหลายตลบ ส่วนหนึ่งก็เพราะมันอ่านยากเองจริงๆ แต่อีกส่วนหนึ่งก็เพราะคนเขียนตั้งใจใช้ "เทคนิค" เขียนให้ยุ่งยาก สร้างขั้นตอนซับซ้อน ใช้คำใหญ่โต เหมือนจะเปิดกว้าง แต่จริงๆ สุดท้าย "ซ่อนแอบ" กลไกรวบอำนาจให้ตัวเอง
election commission
อ่าน

พ.ร.ป.กกต. ฉบับ กรธ.: มีคณะกรรมการ 7 คน พร้อมอำนาจระงับการเลือกตั้ง

ร่าง พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง พ.ศ. …. ที่ กรธ.ปรับปรุงล่าสุดเมื่อวันที่ 7 เมษายน 2560 มีสาระสำคัญบางส่วนที่แตกต่างไปจากกฎหมายเดิมอยู่พอสมควร ไม่ว่าจะเป็น จำนวนของคณะกรรมการการเลือกตั้ง โครงสร้างและรูปแบบการทำงาน รวมไปถึงสถานะของคณะกรรมการการเลือกตั้งชุดปัจจุบันหลังกฎหมายประกาศใช้
Political Party Bill by CDC
อ่าน

ร่างพ.ร.ป.พรรคการเมือง ฉบับ กรธ. พรรคการเมืองตั้งยาก เสี่ยงโดนลงโทษง่าย

ร่างพ.ร.ป.พรรคการเมือง ฉบับกมธ. เตรียมเข้าสู่การพิจารณาของ สนช. เจตนารมณ์ของผู้ร่างย้ำชัดว่าต้องการให้ประชาชนเป็นเจ้าของพรรคการเมืองอย่างแท้จริง และให้สมาชิกพรรคมีส่วนร่วมในการบริหารพรรคโดยที่ไม่ถูกครอบงำจากนายทุน ขณะที่เนื้อหาส่วนใหญ่ทำให้พรรคขนาดเล็กเกิดยาก และพรรคใหญ่เสี่ยงถูกลงโทษง่ายขึ้น
เส้นทางการร่างรัฐธรรมนูญคสช.: ผ่านประชามติ แก้เพิ่มอีก 4 ครั้ง
อ่าน

เส้นทางการร่างรัฐธรรมนูญคสช.: ผ่านประชามติ แก้เพิ่มอีก 4 ครั้ง

นับถึง 6 เม.ย. 60 เกว่า 2 ปี 8 เดือน คสช.ใช้เวลาในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับถาวร โดยมีกรรมาการร่าง 2 ชุด มีร่างรัฐธรรมนูญ 2 ฉบับ มีการออกเสียงประชามติ 1 ครั้ง มีการแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญที่ผ่านประชามติ 4 ครั้ง และมีผู้ถูกดำเนินคดีเกี่ยวกับประชามติอย่างน้อย 195 คน ทั้งหมดคือสิ่งที่เกิดขึ้นก่อนจะมีรัฐธรรมนูญ 2560
NLA Watch
อ่าน

เว็บค้นหาร่างกฎหมาย ยุค คสช.

ช่วงสองปีกว่าของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) มีกฎหมายเก่าถูกแก้ไขและกฎหมายใหม่ถูกประกาศใช้เป็นจำนวนมาก ร่างกฎหมายต่างๆ มีช่องทางในการติดตามทางเว็บไซต์ เราจะมาแนะนำช่องทางในการค้นหาและติดตามร่างกฎหมายจากเว็บไซต์ต่างๆ ในยุค คสช.