4 เรื่อง ที่จะเกิดขึ้นถ้าร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนมีผลบังคับใช้
อ่าน

4 เรื่อง ที่จะเกิดขึ้นถ้าร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนมีผลบังคับใช้

17 พฤศจิกายน 2563 ที่ประชุมรัฐสภามีนัดพิจารณาญัตติการแก้ไขรัฐธรรมนูญ จากร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญเจ็ดฉบับ โดยหนึ่งในร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญที่จะถูกพิจารณา คือ ร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ ฉบับที่เสนอโดยประชาชน ซึ่งหากร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนผ่านการเห็นชอบจากรัฐสภา และประกาศใช้อย่างเป็นทางการ สิ่งที่จะเกิดขึ้นกับเส้นทางข้างหน้าของการเมืองไทย มีอย่างน้อย 4 เรื่อง
50,000 ชื่อ ร่วมรื้อ ร่วมสร้าง ร่วมร่างรัฐธรรมนูญ
อ่าน

50,000 ชื่อ ร่วมรื้อ ร่วมสร้าง ร่วมร่างรัฐธรรมนูญ

ชวนทุกคนเป็นส่วนหนึ่งของการ "รื้อ" ระบอบ คสช. "สร้าง" หนทางกลับสู่ประชาธิปไตย และ "ร่าง" รัฐธรรมนูญ ฉบับใหม่จากประชาชน โดยการใช้สิทธิเข้าชื่อกันให้ครบ 50,000 ชื่อ กับข้อเสนอ 5 ยกเลิก และ 5 แก้ไข เปิดทางตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญใหม่จากการเลือกตั้ง
รัฐธรรมนูญฉบับประชามติ VS ฉบับประกาศใช้หลังพระราชกระแสรับสั่ง
อ่าน

รัฐธรรมนูญฉบับประชามติ VS ฉบับประกาศใช้หลังพระราชกระแสรับสั่ง

6 เมษายน 2560 เป็นวันแรกที่รัฐธรรมนูญฉบับที่ 20 ประกาศใช้อย่างเป็นทางการ รัฐธรรมนูญฉบับนี้ถูกแก้ไขจากร่างฉบับที่ลงประชามติทั้งหมด 7 มาตราด้วยกัน คือ มาตรา 5 หมวดทั่วไป มาตรา 12 15 16 17 19 หมวดพระมหากษัตริย์ และมาตรา 182 หมวดคณะรัฐมนตรี 
สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: ตัด ‘สิทธิในสิ่งแวดล้อมที่ดี’ โบกมือลาองค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อม
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: ตัด ‘สิทธิในสิ่งแวดล้อมที่ดี’ โบกมือลาองค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อม

ยังมีความเห็นที่แตกต่างกันในสังคมว่า ร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับลงประชามติ จะช่วยคุ้มครองและทำให้สิทธิของชุมชนใช้ได้จริงในทางปฏิบัติมากขึ้นหรือน้อยลง เนื่องจากร่างนี้ ‘ตัดสิทธิ’ การแสดงความคิดเห็นของประชาชนต่อโครงการของรัฐ และตัดขั้นตอนการขอความเห็นชอบจากองค์กรอิสระด้านสิ่งแวดล้อมก่อนดำเนินโครงการต่างๆ
สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: เมื่อ “สิทธิเสรีภาพ” เขียนใหม่เป็น “หน้าที่ของรัฐ”
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: เมื่อ “สิทธิเสรีภาพ” เขียนใหม่เป็น “หน้าที่ของรัฐ”

ร่างรัฐธรรมนูญฉบับ 2559 เขียนหมวดหน้าที่ของรัฐขึ้นมาเป็นครั้งแรก และเขียนสิทธิหลายประการใหม่ไว้ในหน้าที่ของรัฐแทน หลายฝ่ายกังวลว่าจะเป็นการตัดสิทธิของประชาชน ด้าน กรธ.มองว่า เขียนแบบนี้คุ้มครองได้มากกว่า
สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: กระจายอำนาจถอยหลัง บางท้องถิ่นไม่ต้องเลือกตั้ง และลดการมีส่วนร่วมประชาชน
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: กระจายอำนาจถอยหลัง บางท้องถิ่นไม่ต้องเลือกตั้ง และลดการมีส่วนร่วมประชาชน

ประเด็นการกระจายอำนาจเป็นสิ่งที่พัฒนาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่รัฐธรรมนูญ 2540 ถึงรัฐธรรมนูญ 2550 แต่ปัจจุบันการกระจายอำนาจสู่ระดับท้องถิ่นต้องหยุดชะงักลงอย่างไม่มีกำหนด เมื่อ คสช.รัฐประหาร นอกจากนี้ในร่างรัฐธรรมนูญปี 2559 ที่จะถูกนำไปออกเสียงประชามติก็ไม่มีการบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญอย่างชัดเจนถึงการกระจายอำนาจสู่ระดับท้องถิ่น เมื่อเปรียบเทียบกับร่างรัฐธรรมนูญฉบับก่อนหน้า
สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: ตีกรอบนโยบายให้คณะรัฐมนตรีทำงานเหมือนข้าราชการประจำ
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: ตีกรอบนโยบายให้คณะรัฐมนตรีทำงานเหมือนข้าราชการประจำ

ประเด็น ครม.ในร่างรัฐธรรมนูญฉบับมีชัย ฤชุพันธุ์ พรรคเพื่อไทยและนักวิชาการบางส่วนวิจารณ์ว่า ให้อำนาจกับองค์กรตุลาการและองค์กรอิสระตรวจสอบฝ่ายรัฐบาลซึ่งมีที่มาจากประชาชนแต่เพียงฝ่ายเดียว ขัดแย้งกับหลักตรวจสอบถ่วงดุล ในทางตรงข้าม กรธ.อธิบายว่า เพียงแต่เพิ่มกลไกในการตรวจสอบการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นเท่านั้น
สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: เมื่อที่มาองค์กรอิสระไม่เน้น “ตัวแทนประชาชน”
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: เมื่อที่มาองค์กรอิสระไม่เน้น “ตัวแทนประชาชน”

การทำงานขององค์กรอิสระหลายครั้งก่อให้เกิดการตั้งคำถามจากประชาชน จนมีการเรียกร้องให้องค์กรอิสระและศาลรัฐธรรมนูญยึดโยงกับประชาชนให้มากขึ้น แต่ทว่าที่มาของ "คณะกรรมการสรรหา" ตามร่างรัฐธรรมนูญฉบับลงประชามติ กลับมีสัดส่วนตัวแทนที่ยึดโยงกับประชาชนเป็นเสียงส่วนน้อยอยู่เสมอ ถึงแม้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้มีการเพิ่มอำนาจขององค์กรอิสระให้มากกว่าเดิมก็ตาม
สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: การศึกษาไม่เป็น “สิทธิ” รัฐต้องจัดเรียนฟรี 12 ปี จากอนุบาล 1 ถึง ม.3
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: การศึกษาไม่เป็น “สิทธิ” รัฐต้องจัดเรียนฟรี 12 ปี จากอนุบาล 1 ถึง ม.3

ที่ผ่านมารัฐธรรมนูญของไทยรับรองสิทธิการศึกษาฟรี 12 ปี ป.1-ม.6 ร่างฉบับใหม่คงสิทธิ 12 ปีไว้เท่าเดิมแต่ให้ร่นมาเริ่มเร็วขึ้นตั้งแต่ก่อนวัยเรียน จึงจบเรียนฟรีที่ ม.3 และให้มีกองทุนช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ แนวทางจัดการศึกษามุ่งให้เป็นคนดีมีวินัย ภูมิใจในชาติ
สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: สิทธิแรงงานแบบกลับไม่ได้-ไปไม่ถึง
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: สิทธิแรงงานแบบกลับไม่ได้-ไปไม่ถึง

ทันทีที่ร่างรัฐธรรมนูญมีชัยเผยโฉมออกมา มันได้ส่งแรงกระเพื่อมไปยังกลุ่มคนหลายกลุ่มในสังคม หนึ่งในนั้นก็คือ กลุ่มผู้ใช้แรงงาน เนื่องจากมีความกังวลกันว่าสิทธิที่เคยได้รับการคุ้มครองในอดีตจะหายไปหรือไม่ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องค่าจ้างที่เป็นธรรม การจัดสวัสดิการโดยเสมอภาค และการรวมตัวกันเป็นสหภาพ