หลังลี้ภัย เป็นครั้งแรกที่ได้ใช้ชีวิตเหมือนคนปกติ : เมลิญณ์ สุพิชชา
อ่าน

หลังลี้ภัย เป็นครั้งแรกที่ได้ใช้ชีวิตเหมือนคนปกติ : เมลิญณ์ สุพิชชา

เสียงจากผู้ลี้ภัยไทยที่เล่าว่า ปี 2567 มีผู้ลี้ภัยอยู่ที่แวนคูเวอร์ ประเทศแคนาดาหกคน มาถึงปีนี้มีผู้ลี้ภัยมาเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าตัว เป็น 12 คน ซึ่งแปลว่าความไว้วางใจของประชาชนที่อยู่ในประเทศนั้นน้อยมากๆ
ผู้รายงานพิเศษยูเอ็นส่งหนังสือขอรัฐบาลไทยชี้แจงกรณี ม.112 ของบี๋-นิราภร อ่อนขาว
อ่าน

ผู้รายงานพิเศษยูเอ็นส่งหนังสือขอรัฐบาลไทยชี้แจงกรณี ม.112 ของบี๋-นิราภร อ่อนขาว

20 กุมภาพันธ์ 2568 ผู้รายงานพิเศษแห่งสหประชาชาติ ส่งหนังสือถึงรัฐบาลไทยขอให้ชี้แจงกรณีการดำเนินคดีตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 กับบี๋-นิราภร อ่อนขาว นอกจากนี้ยังเรียกร้องให้มีการยุติการใช้และ “ยกเลิก” มาตรา 112 
ศาลระบุปิดเว็บ NO 112 ชอบแล้ว การยอมให้วิจารณ์สถาบันฯเป็นการเซาะกร่อน-บ่อนทำลาย
อ่าน

ศาลระบุปิดเว็บ NO 112 ชอบแล้ว การยอมให้วิจารณ์สถาบันฯเป็นการเซาะกร่อน-บ่อนทำลาย

หลักการที่ยอมให้ประชาชนสามารถวิพากษ์วิจารณ์สถาบันพระมหากษัตริย์ในฐานะสถาบันทางการเมืองได้นั้นจะนำไปสู่การ “เซาะกร่อน บ่อนทำลาย” ทำให้ไม่อยู่ในสถานะเคารพสักการะอีกต่อไป ก่อให้เกิดความแตกแยกหรือเกลียดชังในสังคม จึงถือว่า www.no112.org มีลักษณะขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน
เสียงจากคนเคยอยู่ในเรือนจำ ในวันที่ยังไม่เห็นปลายทางนิรโทษกรรมประชาชน
อ่าน

เสียงจากคนเคยอยู่ในเรือนจำ ในวันที่ยังไม่เห็นปลายทางนิรโทษกรรมประชาชน

ชวนฟังเรื่องราวของไผ่-จตุภัทร์ ธี-ถิรนัย และตะวัน-ทานตะวัน ผู้ถูกดำเนินคดีทางการเมืองที่เคยเข้าไปอยู่ในเรือนจำ จากเสวนา “ชีวิตของผู้ถูกดำเนินคดี” ในกิจกรรม “9 เมษา พาส่งใจให้นิรโทษกรรม”
สภาถกยาวปมสหรัฐขึ้นภาษี ไม่ได้พิจารณาร่างกฎหมายนิรโทษกรรม ลุ้นเข้าวาระหนึ่งสมัยประชุมหน้า
อ่าน

สภาถกยาวปมสหรัฐขึ้นภาษี ไม่ได้พิจารณาร่างกฎหมายนิรโทษกรรม ลุ้นเข้าวาระหนึ่งสมัยประชุมหน้า

9 เมษายน 2568 สภาผู้แทนราษฎรมีนัดพิจารณาร่างพ.ร.บ. สถานบันเทิงครบวงจรฯ และร่างกฎหมายนิรโทษกรรมอีกสี่ฉบับ แต่ที่ประชุมถกยาวปมสหรัฐขึ้นภาษีจึงไม่เหลือเวลาพิจารณาร่างกฎหมายทั้งสองฉบับ
เครือข่ายนิรโทษกรรมประชาชนแถลง เรียกร้องสภาคงวาระนิรโทษกรรมคดีการเมืองเป็นเรื่อง “เร่งด่วน” ถกต่อสมัยประชุมหน้า
อ่าน

เครือข่ายนิรโทษกรรมประชาชนแถลง เรียกร้องสภาคงวาระนิรโทษกรรมคดีการเมืองเป็นเรื่อง “เร่งด่วน” ถกต่อสมัยประชุมหน้า

9 เมษายน 2568 เครือข่ายนิรโทษกรรมประชาชน แถลงเรียกร้องรัฐบาล แสดงความจริงใจด้วยการเสนอร่างพิจารณาประกบกับร่างพรรคการเมือง – ภาคประชาชน และให้สภายังคงวาระนิรโทษกรรมเป็นเรื่อง “เร่งด่วน” ถกต่อสมัยประชุมหน้า
พอล แชมเบอร์ส ไม่ใช่คนแรก ย้อนดูกรณีชาวต่างชาติเข้าเรือนจำด้วยคดีมาตรา 112
อ่าน

พอล แชมเบอร์ส ไม่ใช่คนแรก ย้อนดูกรณีชาวต่างชาติเข้าเรือนจำด้วยคดีมาตรา 112

ศาลจังหวัดพิษณุโลกมีคำสั่งไม่ให้ปล่อยตัวชั่วคราว พอล แชมเบอร์ส นักวิชาการม.นเรศวรในคดีมาตรา 112 ย้อนดูประวัติศาสตร์คดีมาตรา 112 ที่ไม่ได้มีเพียงคนสัญชาติไทยที่ตกเป็นจำเลย
วารุณี : ติดแกลม ติดเพื่อน ติดคุก
อ่าน

วารุณี : ติดแกลม ติดเพื่อน ติดคุก

“วารุณี คือชาวเน็ตมืออาชีพ คือผู้หญิงธรรมดาคนหนึ่ง เป็นหัวหน้าครอบครัวที่หาเงินส่งน้องเรียนมาตั้งแต่คุณแม่เสีย แล้วชีวิตก็ขึ้นๆ ลงๆ จนถึงจุดต่ำสุดที่เราเจอก็คือการต้องเข้าไปอยู่ในเรือนจำด้วยมาตรา 112” นี่คือคำตอบเมื่อเราขอให้เธอนิยามตัวเอง
สถานการณ์นักโทษการเมืองคดีมาตรา 112 อย่างน้อย 30 คนก่อนวาระนิรโทษกรรมประชาชน
อ่าน

สถานการณ์นักโทษการเมืองคดีมาตรา 112 อย่างน้อย 30 คนก่อนวาระนิรโทษกรรมประชาชน

จนถึงวันที่ 7 เมษายน 2568 มีผู้ถูกคุมขังในคดีตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112 อย่างน้อย 30ราย แบ่งเป็นคดีถึงที่สุดแล้ว สิบคน คดียังไม่ถึงที่สุด (ขังระหว่างอุทธรณ์) 11 คน คดียังไม่ถึงที่สุด (ขังระหว่างฎีกา) เจ็ดคนและคดียังไม่ถึงที่สุด (ขังระหว่างพิจารณาคดีในศาลชั้นต้น) สองคน 
ก้อง อุกฤษฏ์ : หนึ่งวันในเรือนจำอันยาวนาน ยังรออิสรภาพทุกวินาที
อ่าน

ก้อง อุกฤษฏ์ : หนึ่งวันในเรือนจำอันยาวนาน ยังรออิสรภาพทุกวินาที

ก้อง-อุกฤษฎ์ถูกคุมขังระหว่างการฎีกามากว่าหนึ่งปีแล้ว เขายังมีหวังจะได้สอบเพื่อจบการศึกษาเป็นบัณฑิตคณะนิติศาสตร์ กลางเดือนมีนาคม 2568 เขาถูกราชทัณฑ์บังคับย้ายไปอยู่เรือนจำกลางบางขวางโดยไม่มีการแจ้งล่วงหน้า