เวฟ นักกิจกรรมภูเก็ต อายุ 15 ถูกตำรวจโทรเตือน เหตุโพสต์ข้อความ “จุดแข็ง-จุดอ่อน” เกี่ยวกับระบอบการปกครอง
อ่าน

เวฟ นักกิจกรรมภูเก็ต อายุ 15 ถูกตำรวจโทรเตือน เหตุโพสต์ข้อความ “จุดแข็ง-จุดอ่อน” เกี่ยวกับระบอบการปกครอง

15 มีนาคม 2565 เวฟ ธีรยุทธ นักกิจกรรมเยาวชน จากกลุ่มภูเก็ตปลดแอก โพสต์ผ่านเฟซบุ๊กว่า ได้รับสายเรียกจากตำรวจโทรศัพท์มาเตือนให้ลบโพสต์
นักกิจกรรมและสื่อถูกเจ้าหน้าที่รัฐ “ติดตาม-เยี่ยมบ้าน” อย่างน้อย 22 คน
อ่าน

นักกิจกรรมและสื่อถูกเจ้าหน้าที่รัฐ “ติดตาม-เยี่ยมบ้าน” อย่างน้อย 22 คน

ระหว่างวันที่ 5-22 มกราคม 2565 เจ้าหน้าที่ตำรวจมีปฏิบัติการ “ติดตามและเยี่ยมบ้าน” บรรดานักกิจกรรมและสื่อมวลชน รวมแล้วอย่างน้อย 23 คน (ไม่เผยแพร่ 1 กรณี)  ในจำนวน 4 คนมีรายชื่ออยู่ในบัญชีความมั่นคงที่เคยรั่วไหลออกมาสู่สาธารณะเมื่อปี 2564 ได้แก่ เอกชัย หงส์กังวาน, ณัฐกรณ์ ชูเสนาะ, นรินทร์ กุลพงศธรและชลธิศ โชติสวัสดิ์ ซึ่งปฏิบัติการดังกล่าวในทางกฎหมายไม่มีกฎหมายใดให้อำนาจเจ้าหน้าที่ตำรวจหรือเจ้าพนักงานของรัฐสามารถติดตามหรือไปเยี่ยมบ้านประชาชนที่ไม่ได้กระทำความผิด และไม่มีกฎหมายให้อำนาจตำรวจเข้าไปนั่งคุยในบ้านของประชาชนเพื่อสอบถามข้อมูลต่างๆ
เสรีภาพสื่อไทยในสนามการชุมนุมปี 2564
อ่าน

เสรีภาพสื่อไทยในสนามการชุมนุมปี 2564

การชุมนุมทางการเมืองที่ผ่านมาสื่อมวลชนมีบทบาทสำคัญในการเผยแพร่ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น ย้อนกลับไปในปี 2563 สื่อมวลชนทำหน้าที่เผยแพร่เนื้อหาข้อเรียกร้องทางการเมือง ซึ่งก่อนหน้านี้อาจเคยเป็นสิ่งที่อาจสื่อสารได้ไม่ง่ายนักอย่างเช่น การปฏิรูปสถาบันกษัตริย์ แม้ว่า ข้อมูลที่นำเสนอจะถูกคัดกรองและขัดเกลาแล้ว แต่ก็ยังคงแก่นสำคัญอันนำไปสู่การทำความเข้าใจข้อเรียกร้องแห่งยุคสมัย ต่อมาในปี 2564 สื่อมวลชนทวีบทบาทสำคัญอย่างมากเนื่องด้วยสถานการณ์ความรุนแรงและการใช้กำลังอย่างหนักมือของฝ่ายรัฐตั้งแต่ช่วงเดือนมกราคม 2564 เป็นต้นมา รวมทั้งรูปแบบการเคลื่อนไหวของ
ม็อบดินแดง: เสียงสะท้อนจาก “ผู้สื่อข่าวภาคสนาม” ต่อท่าทีของรัฐ
อ่าน

ม็อบดินแดง: เสียงสะท้อนจาก “ผู้สื่อข่าวภาคสนาม” ต่อท่าทีของรัฐ

“อยากฝากถึงเจ้าหน้าที่นะครับว่า เราเองก็ต่างทำหน้าที่เหมือนกัน คุณอยากมีอิสระของคุณ เราไม่เคยเข้าไปเกะกะ ก้าวก่ายเรื่องของคุณ คุณเองก็ควรเคารพสิทธิของเราบ้าง” คือ เสียงสะท้อนของ “เอิ๊ก-กิตติธัช วิทยาเดชขจร” ผู้สื่อข่าว The Reporters ผู้ปักหลักรายงานสถานการณ์การชุมนุมบริเวณแยกดินแดงแบบใกล้ชิดและสม่ำเสมอ ท่ามกลางความดุเดือดของสถานการณ์การชุมนุมในพื้นที่ดินแดง การปะทะไม่ได้จำกัดอยู่แค่รัฐกับผู้ชุมนุม แต่ยังมี “ลูกหลง” ที่สะเทือนมาถึงประชาชนในพื้นที่รวมไปถึงบรรดาผู้สื่อข่าวในพื้นที่ ซึ่งบางครั้งก็มาในรูปแบบของการพยายามปิดกั้นหรือจำกัดการรายงานข่าว และบางครั้งก็มาในร
Watchlist: เมื่อรัฐขึ้นบัญชีจับตาประชาชนที่ต่อต้าน
อ่าน

Watchlist: เมื่อรัฐขึ้นบัญชีจับตาประชาชนที่ต่อต้าน

9 สิงหาคม 2564 มีการเผยแพร่เอกสารที่ถูกระบุว่าเป็นข้อมูล “ลับที่สุด” ในโลกออนไลน์ โดยเอกสารดังกล่าวคาดว่าเป็นของกองบังคับการตำรวจตรวจคนเข้าเมือง และประกอบไปด้วยข้อมูลของประชาชน ได้แก่ บรรดานักกิจกรรมหรือนักเคลื่อนไหวทางการเมือง นักการเมือง สื่อมวลชน นักวิชาการ และภาคประชาชน รวมแล้ว 183 รายชื่อ และข้อมูลบัญชีโซเชียลมีเดียอีก 19 บัญชี ซึ่งรายชื่อเหล่านี้ถูกระบุสถานะในเอกสารว่าเป็นกลุ่ม Watchlist หรือกลุ่มที่รัฐกำลังจับตา
‘เฟรม’ ‘ลีโอ’ และ ‘เปิ้ล’ ย้อนเหตุการณ์บุกรวบรถเครือข่ายนนท์ฯ หน้าสตช. หลัง #ม็อบ10สิงหา
อ่าน

‘เฟรม’ ‘ลีโอ’ และ ‘เปิ้ล’ ย้อนเหตุการณ์บุกรวบรถเครือข่ายนนท์ฯ หน้าสตช. หลัง #ม็อบ10สิงหา

คำบอกเล่าของ ‘เฟรม’ ‘ลีโอ’ และ ‘เปิ้ล’ สมาชิกเครือข่ายคนรุ่นใหม่นนทบุรี จากเหตุการณ์บุกรวบรถน้ำเครือข่ายนนทบุรี หลังกลับจาก #ม็อบ10สิงหา คาร์ม็อบใหญ่ไล่ทรราช บริเวณแยกราชประสงค์
สรุปเสวนา “ปราบม็อบ 101: วิชาสลายการชุมนุม (ด้วยความรุนแรง?)”
อ่าน

สรุปเสวนา “ปราบม็อบ 101: วิชาสลายการชุมนุม (ด้วยความรุนแรง?)”

21 สิงหาคม 2564 Nitihub จัดงานเสวนาออนไลน์ในหัวข้อ “ปราบม็อบ 101: วิชาสลายการชุมนุม (ด้วยความรุนแรง?)” ถกเถียงเรื่องเส้นแบ่งระหว่างความรุนแรง-สันติวิธี, หลักการสลายการชุมนุม ไปจนถึงพลวัตของเส้นสันติวิธีและความรุนแรงที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
ถอดประสบการณ์ตำรวจชั้นผู้น้อยคุมม็อบ ความรุนแรงไม่ใช่ทางออกและลดพลังประเด็นขับไล่ประยุทธ์
อ่าน

ถอดประสบการณ์ตำรวจชั้นผู้น้อยคุมม็อบ ความรุนแรงไม่ใช่ทางออกและลดพลังประเด็นขับไล่ประยุทธ์

18 กรกฎาคม 2564 เยาวชนปลดแอกและเครือข่ายนัดชุมนุมเพื่อเรียกร้องให้พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ลาออก, ลดงบสถาบันกษัตริย์และกองทัพเพื่อมารับมือกับโควิด 19 และจัดหาวัคซีนป้องกันโควิด 19 ชนิด mRNA การชุมนุมดังกล่าวเกิดขึ้นให้หลังการปะทะที่กระทรวงสาธาณสุข ผู้จัดการชุมนุมจึงวางทีมดูแลผู้ชุมนุมและป้องกันไม่ให้มีการปะทะที่หน้าแนวตำรวจ อย่างไรก็ตามเมื่อผู้ชุมนุมยืนยันที่จะเดินขบวนผ่านถนนราชดำเนินกลางเพื่อไปทำเนียบรัฐบาล ตำรวจก็เริ่มใช้กำลังสลายการชุมนุมด้วยการฉีดน้ำ แก๊สน้ำตาและกระสุนยาง
ถอดประสบการณ์ตำรวจคุมม็อบ ตำรวจอยู่ใต้รัฐบาล จะกู้เกียรติคืนได้ก็ต่อเมื่อมีรัฐบาลจากประชาชน
อ่าน

ถอดประสบการณ์ตำรวจคุมม็อบ ตำรวจอยู่ใต้รัฐบาล จะกู้เกียรติคืนได้ก็ต่อเมื่อมีรัฐบาลจากประชาชน

18 กรกฎาคม 2564 เยาวชนปลดแอกและเครือข่ายนัดชุมนุมเพื่อเรียกร้องให้พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ลาออก, ลดงบสถาบันกษัตริย์และกองทัพเพื่อมารับมือกับโควิด 19 และจัดหาวัคซีนป้องกันโควิด 19 ชนิด mRNA การชุมนุมดังกล่าวเกิดขึ้นให้หลังการปะทะที่กระทรวงสาธารณสุข ผู้จัดการชุมนุมจึงวางทีมดูแลผู้ชุมนุมและป้องกันไม่ให้มีการปะทะที่หน้าแนวตำรวจ อย่างไรก็ตามเมื่อผู้ชุมนุมยืนยันที่จะเดินขบวนผ่านถนนราชดำเนินกลางเพื่อไปทำเนียบรัฐบาล ตำรวจก็เริ่มใช้กำลังสลายการชุมนุมด้วยการฉีดน้ำ, แก๊สน้ำตาและกระสุนยาง ทั้งที่ไม่มีกฎหมายใดห้ามการชุมนุมบริเวณทำเนียบรัฐบาล
ดูหมิ่นนายกฯ: ข้อหาเก่า-กลยุทธ์ใหม่ เพื่อใช้หยุดการวิพากษ์วิจารณ์
อ่าน

ดูหมิ่นนายกฯ: ข้อหาเก่า-กลยุทธ์ใหม่ เพื่อใช้หยุดการวิพากษ์วิจารณ์

รัฐบาลประยุทธ์ กำลังพยายามสร้างบรรยากาศใช้การแสดงออกซึ่งความไม่พอใจต่อรัฐบาลต้องระมัดระวังว่าอาจจะมี “ความผิด”