สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: ตีกรอบนโยบายให้คณะรัฐมนตรีทำงานเหมือนข้าราชการประจำ
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: ตีกรอบนโยบายให้คณะรัฐมนตรีทำงานเหมือนข้าราชการประจำ

ประเด็น ครม.ในร่างรัฐธรรมนูญฉบับมีชัย ฤชุพันธุ์ พรรคเพื่อไทยและนักวิชาการบางส่วนวิจารณ์ว่า ให้อำนาจกับองค์กรตุลาการและองค์กรอิสระตรวจสอบฝ่ายรัฐบาลซึ่งมีที่มาจากประชาชนแต่เพียงฝ่ายเดียว ขัดแย้งกับหลักตรวจสอบถ่วงดุล ในทางตรงข้าม กรธ.อธิบายว่า เพียงแต่เพิ่มกลไกในการตรวจสอบการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นเท่านั้น
สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: เมื่อที่มาองค์กรอิสระไม่เน้น “ตัวแทนประชาชน”
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: เมื่อที่มาองค์กรอิสระไม่เน้น “ตัวแทนประชาชน”

การทำงานขององค์กรอิสระหลายครั้งก่อให้เกิดการตั้งคำถามจากประชาชน จนมีการเรียกร้องให้องค์กรอิสระและศาลรัฐธรรมนูญยึดโยงกับประชาชนให้มากขึ้น แต่ทว่าที่มาของ "คณะกรรมการสรรหา" ตามร่างรัฐธรรมนูญฉบับลงประชามติ กลับมีสัดส่วนตัวแทนที่ยึดโยงกับประชาชนเป็นเสียงส่วนน้อยอยู่เสมอ ถึงแม้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้มีการเพิ่มอำนาจขององค์กรอิสระให้มากกว่าเดิมก็ตาม
สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: การศึกษาไม่เป็น “สิทธิ” รัฐต้องจัดเรียนฟรี 12 ปี จากอนุบาล 1 ถึง ม.3
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: การศึกษาไม่เป็น “สิทธิ” รัฐต้องจัดเรียนฟรี 12 ปี จากอนุบาล 1 ถึง ม.3

ที่ผ่านมารัฐธรรมนูญของไทยรับรองสิทธิการศึกษาฟรี 12 ปี ป.1-ม.6 ร่างฉบับใหม่คงสิทธิ 12 ปีไว้เท่าเดิมแต่ให้ร่นมาเริ่มเร็วขึ้นตั้งแต่ก่อนวัยเรียน จึงจบเรียนฟรีที่ ม.3 และให้มีกองทุนช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ แนวทางจัดการศึกษามุ่งให้เป็นคนดีมีวินัย ภูมิใจในชาติ
สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: สิทธิแรงงานแบบกลับไม่ได้-ไปไม่ถึง
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: สิทธิแรงงานแบบกลับไม่ได้-ไปไม่ถึง

ทันทีที่ร่างรัฐธรรมนูญมีชัยเผยโฉมออกมา มันได้ส่งแรงกระเพื่อมไปยังกลุ่มคนหลายกลุ่มในสังคม หนึ่งในนั้นก็คือ กลุ่มผู้ใช้แรงงาน เนื่องจากมีความกังวลกันว่าสิทธิที่เคยได้รับการคุ้มครองในอดีตจะหายไปหรือไม่ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องค่าจ้างที่เป็นธรรม การจัดสวัสดิการโดยเสมอภาค และการรวมตัวกันเป็นสหภาพ
สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: ประชาชนมีสิทธิถ้ากฎหมายไม่ห้าม และไม่กระทบความมั่นคง
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: ประชาชนมีสิทธิถ้ากฎหมายไม่ห้าม และไม่กระทบความมั่นคง

ร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับลงประชามติ เขียนชัดเจนว่า อะไรที่ไม่ได้ห้ามไว้ในกฎหมายประชาชนมีสิทธิเสรีภาพที่จะทำได้ เท่าที่ไม่กระทบ "ความมั่นคง" เงื่อนไขจำกัดสิทธิข้อนี้ไม่เคยมีในฉบับปี 2540 และ 2550 ส่วนสถานะ "ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์" ก็ถูกจัดวางใหม่
สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: สิทธิของผู้บริโภคและการจัดตั้งองค์กรคุ้มครองผู้บริโภคที่เป็นอิสระจากรัฐอาจจะยากขึ้นไปอีก
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: สิทธิของผู้บริโภคและการจัดตั้งองค์กรคุ้มครองผู้บริโภคที่เป็นอิสระจากรัฐอาจจะยากขึ้นไปอีก

19 ปี ของความพยายามจัดตั้งองค์การคุ้มครองผู้บริโภคที่เป็นอิสระจากรัฐอาจจะต้องสะดุดลง เนื่องจากร่างรัฐธรรมนูญฉบับลงประชามติ เขียนใหม่ให้การจัดตั้งองค์กรเป็นสิทธิที่จะตั้งหรือไม่ก็ได้ รวมทั้งยังย้ายการรับรู้ข้อมูลข่าวสารจาก "สิทธิ" ไปเป็นหน้าที่ของรัฐ และตัดสิทธิร้องเรียนเมื่อได้รับความเสียหายออก
สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: สร้างมาตรฐานจริยธรรม ควบคุมฝ่ายการเมือง
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: สร้างมาตรฐานจริยธรรม ควบคุมฝ่ายการเมือง

ในร่างรัฐธรรมนูญฉบับมีชัย มีกลไกปราบโกงในหลายระดับ ซึ่งอำนาจตรวจสอบและกำหนดขั้นตอนการลงโทษเหล่านี้ กรธ.ตัดสินใจมอบอำนาจหน้าที่ให้กับศาลรัฐธรรมนูญและองค์กรอิสระเป็นหลัก โดยมีหนึ่งในเครื่องมือที่สำคัญ คือ “มาตรฐานทางจริยธรรม”
สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: “หมวดปฏิรูป” และ “ยุทธศาสตร์ชาติ” ภาพฝันที่ คสช. เร่ขาย
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: “หมวดปฏิรูป” และ “ยุทธศาสตร์ชาติ” ภาพฝันที่ คสช. เร่ขาย

"หมวดปฏิรูป" ถูกเขียนอย่างสวยงามไว้ในร่างรัฐธรรมนูญฉบับลงประชามติ พร้อมกำหนดให้มี "แผนยุทธศาสตร์ชาติ" ร่างโดยรัฐบาล คสช. มีผลผูกพันรัฐบาลหน้าไปด้วย แต่หากย้อนดูผลงาน คสช. ที่เคยลั่นวาจาไว้ว่าจะปฏิรูปประเทศก็ยังไม่เห็นว่าภาพฝันอันนี้จะเป็นจริงอย่างไร
สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: ที่มาและอำนาจของ ส.ว. แบบไม่ได้ง้อการเลือกตั้ง
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: ที่มาและอำนาจของ ส.ว. แบบไม่ได้ง้อการเลือกตั้ง

หลายคนอาจจะพอทราบเรื่องที่มาของ ส.ว. 5 ปีแรกที่มาจากการแต่งตั้งโดย คสช. แต่ทว่าหลังจากนั้นที่มาของ ส.ว. จะเปลี่ยนใหม่ ให้มาจากการคัดเลือกกันเองของแต่ละกลุ่มอาชีพโดยไม่มีการเลือกตั้ง แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น อำนาจของ ส.ว. ทั้งสองช่วงก็ยังคงเหมือนเดิม
สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: รัฐธรรมนูญผ่าน คสช.ยังอยู่ต่อเบื้องหน้าและเบื้องหลัง
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: รัฐธรรมนูญผ่าน คสช.ยังอยู่ต่อเบื้องหน้าและเบื้องหลัง

แม้ว่าร่างรัฐธรรมนูญมีชัยจะผ่านการออกเสียงประชามติ ในเบื้องหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ยังจะอยู่กับเราอย่างน้อยก็ 15 เดือน และในเบื้องหลังบรรดาประกาศ/คำสั่ง และวุฒิสภาจากการแต่งตั้งโดย คสช.ยังอยู่หลังจากเลือกตั้ง