อ่าน นิรโทษกรรม เสรีภาพการแสดงออก นิรโทษกรรมคือทางออกขั้นต่ำของสังคม เสวนา “ก้าวแรกอย่างไรในการแก้ไขปัญหาคดีการเมือง”พฤศจิกายน 19, 2023 19 พฤศจิกายน 2566 เวลา 13.00 น. 0 0 0
อ่าน Recommended กฎหมายประชาชน ติดตามกฎหมาย นิรโทษกรรม เสรีภาพการแสดงออก เปิดร่างนิรโทษกรรมฉบับประชาชน รวมประชาชนทุกฝ่าย และคดี 112พฤศจิกายน 19, 2023 เครือข่ายนิโทษกรรมประชาชนจึงเสนอร่างกฎหมายพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมประชาชนเพื่อแก้ไขปัญหาคดีความที่คั่งค้างกับประชาชนทุกฝ่ายตั้งแต่การรัฐประหาร 2549 และเปิดให้ทุกคนช่วยกันแสดงความเห็นเพื่อปรับปรุงร่างได้ 0 0 0
อ่าน นิรโทษกรรม เสรีภาพการแสดงออก สำรวจนิรโทษกรรมในอเมริกาใต้! รัฐบาลพลเรือนทำอะไรได้บ้างเพื่อคืนความเป็นธรรมพฤศจิกายน 15, 2023 ก่อนการเลือกตั้ง 2566 ภายใต้รัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา การดำเนินคดีการเมืองด้วยการใช้มาตรา 112 มาตรา 116 ไปจนถึงการใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ถูกดำเนินการจนส่งผลให้จำนวนผู้ต้องขังในคดีการเมืองยังคงพุ่งสูง ขณะที่สถานการณ์ปัจจุบันภายใต้รัฐบาลพลเรือนที่นำโดยเศรษฐา ทวีสิน ทิศทางของผู้ที่ถูกดำเนินคดีทางการเมืองยังคงไม่ชัดเจนและสถานการณ์ยังไม่ไปในทางที่เป็นคุณกับผู้ต้องหาคดีการเมือง การออกกฎหมาย “นิรโทษกรรม” ให้แก่ผู้ต้องหาคดีการเมืองเป็นอีกช่องทางหนึ่งที่สามารถเป็นทางออกเพื่อทำให้สภาพสังคมหลังผ่านความขัดแย้ง (Po 0 0 0
อ่าน นิรโทษกรรม มาตรา 112 (หมิ่นประมาทกษัตริย์ฯ) เสรีภาพการแสดงออก Stand Together ครั้งที่สอง : จากข้อเรียกร้องปฏิรูปสถาบันพระมหากษัตริย์ สู่วันพิพากษาคดี 112ตุลาคม 29, 2023 เดือนตุลาคมถึงเดือนพฤศจิกายน ปี 2566 ผู้ที่ถูกดำเนินคดีด้วยประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112 หลายคนที่จะต้องฟังคำพิพากษา โดยในเร็วๆ นี้จะมีอย่างน้อยสองคดีที่จะถึงเวลาพิพากษา คือคดีของ เบนจา อะปัญ ที่ศาลอาญากรุงเทพใต้นัดอ่านคำพิพากษาในวันที่ 30 ตุลาคม 2566 และสัปดาห์ถัดไป 8 พฤศจิกายน ศาลจังหวัดธัญบุรี นัดอ่านคำพิพากษาคดี 112 ของณัฐชนน ไพโรจน์ 29 ตุลาคม 2566 iLaw และสภานักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดงาน Stand Together ครั้งที่สอง ส่งใจให้ผู้ต้องหาก่อนเผชิญคำพิพากษา 112 โดยมี เบนจ 0 0 0
อ่าน นักโทษการเมือง นิรโทษกรรม บทความเสรีภาพอื่นๆ มาตรา 112 (หมิ่นประมาทกษัตริย์ฯ) เสรีภาพการแสดงออก ไอลอว์รับรางวัล “จารุพงษ์ ทองสินธุ์ เพื่อประชาธิปไตย” ขอผูกโบว์ขาว ไม่ลืมเพื่อนคดี 112ตุลาคม 18, 2023 6 ตุลาคม 2566 โครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน (ไอลอว์) รับรางวัล “จารุพงษ์ ทองสินธุ์ เพื่อประชาธิปไตย” จากสภานักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ 0 0 0
อ่าน นิรโทษกรรม บทความเสรีภาพอื่นๆ มาตรา 112 (หมิ่นประมาทกษัตริย์ฯ) เสรีภาพการแสดงออก จากฟ้องทางไกลสู่การคุกคามประชาชน งาน Stand Together ครั้งที่หนึ่งก่อนถึงวันพิพากษามาตรา 112ตุลาคม 8, 2023 0 0 0
อ่าน นิรโทษกรรม บทความเสรีภาพอื่นๆ มาตรา 112 (หมิ่นประมาทกษัตริย์ฯ) เสรีภาพการแสดงออก รู้จักคดี 112 ที่พสิษฐ์ จันทร์หัวโทน Royalist ชาวโก-ลก ริเริ่มตุลาคม 8, 2023 1. สถิติของศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนระบุว่า จากจำนวนคดีตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 อย่างน้อย 280 คดีมี 136 คดีที่ประชาชนร้องทุกข์กล่าวโทษกันเอง คำว่า “ประชาชน” ในที่นี้มีทั้งผู้เคยมีความขัดแย้งและโต้เถียงกันบนโลกออนไลน์กับกลุ่มที่มีแนวคิดทางการเมืองที่ตรงกันข้ามกับจำเลย เช่น เครือข่ายประชาชนปกป้องสถาบัน (ศปส.) และศูนย์รวมประชาชนปกป้องสถาบัน (ศปปส.) ภาพจำในสังคมเกี่ยวกับมาตรา 112 คือ “ยาแรง” เพื่อหยุดยั้งกระแสการวิจารณ์เพื่อปฏิรูปสถาบันกษัตริย์ที่เริ่มต้นจากการชุมนุมทางการเม 0 0 0
อ่าน นิรโทษกรรม เสรีภาพการแสดงออก ย้อนดูจุดยืนพรรคการเมืองที่ได้เข้าสภาฯ ปี 2566 ต่อประเด็น “นิรโทษกรรม” คดีความทางการเมืองมิถุนายน 3, 2023 ในช่วงเทศกาลหาเสียง ตามเวทีดีเบตหรือวงเสวนาหรือแม้แต่การให้สัมภาษณ์ หลายพรรคการเมืองที่ได้เข้าสภาจากการเลือกตั้ง 2566 เคยแสดงจุดยืนในประเด็นนิรโทษกรรมคดีความทางการเมืองไว้บ้างแม้อาจยังไม่มีนโยบายชัดเจน ชวนย้อนความจำกันว่าแต่ละพรรคมีความคิดเห็นอย่างไรกันบ้าง 0 0 0
อ่าน จับตาการเลือกตั้ง ชุมนุมสาธารณะ นิรโทษกรรม เลือกตั้ง 66 เสรีภาพการแสดงออก เลือกตั้ง 66: งานเสวนาบทเรียนจากท้องถนน “จุดยืนพรรคการเมืองต่อเสรีภาพการชุมนุมและนิรโทษกรรม”มีนาคม 13, 2023 เสวนาในหัวข้อบทเรียนจากท้องถนน: พรรคการเมืองกับนโยบายเสรีภาพการชุมนุม มีการเชิญชวนพรรคการเมืองมาร่วมพูดคุยถึงประเด็นด้านเสรีภาพในการชุมนุมของประชาชน และนโยบายเกี่ยวกับการชุมนุมที่แต่ละพรรคตั้งใจนำเสนอ 0 0 0
อ่าน นิรโทษกรรม ชวนแสดงความเห็น ข้อเสนอนิรโทษกรรม การชุมนุม ตั้งแต่ 49-65 ไม่รวมทุจริต ไม่รวม112กุมภาพันธ์ 12, 2023 เว็บไซต์รัฐสภา เปิดรับฟังความคิดเห็นร่างพ.ร.บ.สร้างเสริมสังคมสันติสุข ซึ่งร่างฉบับนี้จะยกเว้นความผิดให้กับผู้ชุมนุมหรือแสดงออกทางการเมือง หรือที่เข้าใจกันว่า เป็นการออกกฎหมาย "นิรโทษกรรม" นั่นเอง โดยร่างนี้รวมการกระทำตั้งแต่ปี 2549 ไม่รวมการทำให้ผู้อื่นเสียชีวิต และไม่รวมคดีมาตรา112 0 0 0