จำคุกเก็ทอีกสามปีตาม ม.112 ยกฟ้อง “โจเซฟ” พูดเรื่องพระเจ้าตากสิน ศาลชี้ เป็นประวัติศาสตร์อีกมุมหนึ่ง
อ่าน

จำคุกเก็ทอีกสามปีตาม ม.112 ยกฟ้อง “โจเซฟ” พูดเรื่องพระเจ้าตากสิน ศาลชี้ เป็นประวัติศาสตร์อีกมุมหนึ่ง

27 ธันวาคม 2566 ศาลอาญาธนบุรีพิพากษาว่า โสภณ สุรฤทธิ์ธำรง หรือ เก็ท มีความผิดตามมาตรา 112 จากกรณีปราศรัย “ฟื้นฝอยหาตะเข็บ 240 ปี ใครฆ่าพระเจ้าตาก” เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2565 ที่อนุสาวรีย์พระเจ้าตากสิน วงเวียนใหญ่ ให้ลงโทษจำคุกสามปี ส่วนจำเลยอีกคน คือ “โจเซฟ” ศาลพิพากษายกฟ้อง เพราะเนื้อหาปราศรัยไม่เข้าข่ายความผิด ในวันอ่านคำพิพากษามีผู้มาให้กำลังใจและรับฟังคำพิพากษาด้วยเป็นจำนวนมาก เต็มห้องพิจารณาคดีที่ 11 ซึ่งทางศาลอาญาธนบุรีได้จัดถ่ายทอดสดการอ่านคำพิพากาษามายังห้อง 12 ด้วย เพื่อให้ผู้มาร่วมฟังคำพิพากษาเข้า
“การยุติการดำเนินคดีจากการแสดงความคิดเห็นของประชาชนคือประตูบานแรกในการแก้ไขข้อผิดพลาด” iLaw รับรางวัลจากกรรมการสิทธิฯ
อ่าน

“การยุติการดำเนินคดีจากการแสดงความคิดเห็นของประชาชนคือประตูบานแรกในการแก้ไขข้อผิดพลาด” iLaw รับรางวัลจากกรรมการสิทธิฯ

ตราบใดที่การพูดถึงปัญหาในประเทศอย่างตรงไปตรงมาและมีวุฒิภาวะเป็นสิ่งที่ทำไม่ได้ ตราบใดที่กฎหมายยังทำหน้าที่ข่มขู่สร้างความหวาดกลัว ไม่ได้ทำหน้าที่คุ้มครอง ปัญหาที่มีอยู่ทั้งหลายก็แก้ไขไปที่ต้นเหตุไม่ได้ การยุติและยกเลิกคดีความจากการแสดงความคิดเห็นของประชาชนทั้งหมด จึงถือเป็นประตูบานแรกที่จะทำให้การแก้ไขสิ่งที่ผิดพลาดทั้งหลายในประเทศนี้เป็นไปได้
ผู้ใดอยู่ในเรือนจำ : ผู้ต้องขังคดี 112 ในเดือนพฤศจิกายน 2566
อ่าน

ผู้ใดอยู่ในเรือนจำ : ผู้ต้องขังคดี 112 ในเดือนพฤศจิกายน 2566

ในรอบเดือนพฤศจิกายน 2566 มีผู้ต้องขังคดี มาตรา 112 อย่างน้อย 17 คนที่อยู่ในเรีอนจำหรือสถานพินิจ (กรณีคดีเยาวชน) ในแต่ละชั้นกระบวนการยุติธรรมแตกต่างกันไป
หมอเหวงถามรัฐบาลหากไม่เห็นประชาชนเป็นศัตรูต้องนิรโทษกรรม
อ่าน

หมอเหวงถามรัฐบาลหากไม่เห็นประชาชนเป็นศัตรูต้องนิรโทษกรรม

วันที่ 19 พฤศจิกายน 2566 นพ.เหวง โตจิราการ หรือหมอเหวง แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ กล่าวในเวทีเสวนา “ก้าวแรกอย่างไรในการแก้ไขปัญหาคดีการเมือง” โดยสรุปคือ คดีการเมืองที่เกิดขึ้นมาเป็นเรื่องของที่รัฐมองประชาชนเป็นฝ่ายตรงกันข้ามหรือเป็นศัตรู การใช้กฎหมายหรือคดีความเพื่อปราบปรามผู้ที่รัฐนั้นมองว่าเป็นศัตรูเช่นกรณีการชุมนุมของนปช.เมื่อปี 2553 และกล่าวโดยตรงถึงพรรครัฐบาลโดยเฉพาะอย่า
ย้อนอ่านประสบการณ์นายประกันคดี 112 ที่ต้องประกันความรู้สึกไปพร้อมกับอิสรภาพของจำเลย
อ่าน

ย้อนอ่านประสบการณ์นายประกันคดี 112 ที่ต้องประกันความรู้สึกไปพร้อมกับอิสรภาพของจำเลย

วันที่ 12 พฤศจิกายน 2566 ในวงเสวนาเรื่อง 3 ปี 112 คนและคดียังเดินหน้ารอวันพิพากษา ชุติมน กฤษณปาณี คณะรณรงค์เพื่อรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน (ครช.) ในฐานะนายประกันของกองทุนราษฎรประสงค์เล่าว่า จุดเริ่มต้นที่เข้ามาทำงานในฐานะนายประกันเริ่มในปี 2564 ชลิตา บัณฑุวงศ์ที่เป็นเจ้าของบัญชีร่วมของกองทุนราษฎรประสงค์ได้ติดต่อมาที่คณะรณรงค์เพื่อรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน (ครช.) ที่เธอทำงานอยู่ว่า อยากให้ไปเป็นนายประกันในคดีทางการเมือง ซึ่งต่อมาเธอรับเป็นนายประกันในคดีที่ศาลอาญาหรือบริเวณใกล้เคียง โดยเป็นนายประกันจนถึงปัจจ
ไอลอว์รับรางวัล “จารุพงษ์ ทองสินธุ์ เพื่อประชาธิปไตย” ขอผูกโบว์ขาว ไม่ลืมเพื่อนคดี 112
อ่าน

ไอลอว์รับรางวัล “จารุพงษ์ ทองสินธุ์ เพื่อประชาธิปไตย” ขอผูกโบว์ขาว ไม่ลืมเพื่อนคดี 112

6 ตุลาคม 2566 โครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน (ไอลอว์) รับรางวัล “จารุพงษ์ ทองสินธุ์ เพื่อประชาธิปไตย” จากสภานักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
มงคลปีนรั้วศาลประท้วงหลังของหาย ก่อนถูกมวลชนฝ่ายตรงข้ามปาของและพยายามทำร้ายร่างกาย
อ่าน

มงคลปีนรั้วศาลประท้วงหลังของหาย ก่อนถูกมวลชนฝ่ายตรงข้ามปาของและพยายามทำร้ายร่างกาย

    วันนี้ (15 ตุลาคม 2566) เวลา 17.20 น. มงคล ถิระโคตรผู้ต้องหาคดี #ม112 ถูกมวลชนที่นำโดยอานนท์ กลิ่นแก้ว ขว้างปาหินและขวดน้ำใส่ พร้อมชูท่อนเหล็กข่มขู่ หลังมงคลปีนกำแพงรั้วศาลอาญาประท้วงกรณีที่ของและเงินสดของเขาหายไปขณะปักหลักอดอาหารเรียกร้องสิทธิในการประกันตัว
112 in numbers: รวมตัวเลขเกี่ยวกับมาตรา 112 ที่มีคำพิพากษาแล้ว
อ่าน

112 in numbers: รวมตัวเลขเกี่ยวกับมาตรา 112 ที่มีคำพิพากษาแล้ว

    จนถึงวันที่ 5 ตุลาคม 2566 ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนรายงานว่า มีผู้ถูกดำเนินคดีตามมาตรา 112 จำนวน 258 คนใน 280 คดี  ระหว่างนี้หลายคดีขึ้นสู่ชั้นพิจารณาและถึงที่สุดแล้ว ชวนทุกคนย้อนดูตัวเลขที่เกี่ยวข้องกับมาตรา 112 ที่มีคำพิพากษาแล้ว    
สถิติผู้ต้องขังทางการเมืองในช่วงเปลี่ยนผ่านรัฐบาล
อ่าน

สถิติผู้ต้องขังทางการเมืองในช่วงเปลี่ยนผ่านรัฐบาล

ประเด็นเรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจ แก้ไขปัญหาปากท้องของประชาชนและการแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 ถูกจัดเป็นนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาลที่นำโดยเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรีจากพรรคเพื่อไทย เป็นผลให้ประเด็นเหล่านี้ตกอยู่ในความสนใจของสังคมอย่างต่อเนื่อง ขณะที่ประเด็นด้านสิทธิมนุษยชนซึ่งสำคัญไม่น้อยไปกว่าประเด็นปัญหาเศรษฐกิจ โดยเฉพาะเรื่อง “สิทธิประกันตัว” ของผู้ที่ถูกคุมขังจากการแสดงออกทางการเมืองซึ่งยังคงอยู่ในเรือนจำกลับค่อยๆ ได้รับการพูดถึงน้อยลง สวนทางกับสถานการณ์ที่น่าห่วงกั