บทสรุปสว.67 : ระบบ “แบ่งกลุ่ม”-“เลือกกันเอง” สร้างความสับสน ผู้ชนะเกาะกลุ่มกินรวบ
อ่าน

บทสรุปสว.67 : ระบบ “แบ่งกลุ่ม”-“เลือกกันเอง” สร้างความสับสน ผู้ชนะเกาะกลุ่มกินรวบ

ความซับซ้อนและขาดการมีส่วนร่วมส่งผลให้ที่มาของสว. แบบแบ่งกลุ่มและเลือกกันเองขาดความเป็นตัวแทนและความรับผิดชอบต่อประชาชน ให้ผลตรงข้ามกับที่ผู้ออกแบบระบบวาดฝันจะป้องกันอิทธิพลนักการเมือง
สว. 67 : ทำความรู้จัก 200 สว. ชุดใหม่ ที่มาจากระบบ “เลือกกันเอง”
อ่าน

สว. 67 : ทำความรู้จัก 200 สว. ชุดใหม่ ที่มาจากระบบ “เลือกกันเอง”

ทำความรู้จัก 200 สว. 2567 ที่มาจากระบบ “เลือกกันเอง” ประชาชนส่วนใหญ่ไม่ได้เลือก แต่มาทำหน้าที่เป็น “ผู้แทนปวงชน”
จับตา #ประชุมสภา พิจารณาร่างกฎหมายยกเลิกประกาศ-คำสั่ง คสช. และแก้พ.ร.บ.ประชามติฯ ต่อวาระสอง-สาม
อ่าน

จับตา #ประชุมสภา พิจารณาร่างกฎหมายยกเลิกประกาศ-คำสั่ง คสช. และแก้พ.ร.บ.ประชามติฯ ต่อวาระสอง-สาม

21 สิงหาคม 2567 สภาผู้แทนราษฎรมีวาระพิจารณาร่างกฎหมายยกเลิกประกาศ-คำสั่ง คสช. และพิจารณาร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ ต่อในวาระสอง-สาม
สภาผู้แทนราษฎรมีมติเลือก แพทองธาร ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 31
อ่าน

สภาผู้แทนราษฎรมีมติเลือก แพทองธาร ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 31

16 สิงหาคม 2567 สภาผู้แทนราษฎร (สส.) มีมติเห็นชอบ “อุ๊งอิ๊ง” แพทองธาร ชินวัตร หัวหน้าพรรคเพื่อไทย เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 31 ของประเทศไทย แพทองธารถือเป็นแคนดิเดตนายกรัฐมนตรีคนเดียวที่ถูกเสนอชื่อในการประชุมครั้งนี้ ไม่มีพรรคใดเสนอแคนดิเดตแข่งด้วย
ขั้นตอนเลือกนายกฯ คนใหม่ หลังศาลรัฐธรรมนูญฟันเศรษฐาพ้นตำแหน่ง
อ่าน

ขั้นตอนเลือกนายกฯ คนใหม่ หลังศาลรัฐธรรมนูญฟันเศรษฐาพ้นตำแหน่ง

แม้การเลือกนายกรัฐมนตรีหลังจากการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อปี 2562 และ 2566 จะมีสมาชิกวุฒิสภา (สว.) ชุดพิเศษมาร่วมโหวตเลือกนายกรัฐมนตรีด้วย แต่หลังจากพ้นระยะเวลาห้าปีที่มีรัฐสภาชุดแรก ตามรัฐธรรมนูญ 2560 มาตรา 272 แล้ว กลไกการเลือกนายกรัฐมนตรีจะกลับมาใช้ขั้นตอนปกติตามรัฐธรรมนูญ 2560 คือ เลือกนายกรัฐมนตรีโดยสภาผู้แทนราษฎร (สส.) เท่านั้น 
ข้าหลวงใหญ่ฯ – ผู้รายงานพิเศษ UN แสดงความกังวลเรื่องการยุบพรรคก้าวไกล พร้อมขอให้ทบทวนการใช้มาตรา 112
อ่าน

ข้าหลวงใหญ่ฯ – ผู้รายงานพิเศษ UN แสดงความกังวลเรื่องการยุบพรรคก้าวไกล พร้อมขอให้ทบทวนการใช้มาตรา 112

อ่านความเห็นและท่าทีของข้าหลวงใหญ่สิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติและผู้รายงานพิเศษด้านเสรีภาพการแสดงออกต่อกรณีการยุบพรรคก้าวไกล
หลังเศรษฐา-ครม. พ้นตำแหน่ง สส. ต้องโหวตเลือกนายกฯ จากบัญชีพรรคการเมือง
อ่าน

หลังเศรษฐา-ครม. พ้นตำแหน่ง สส. ต้องโหวตเลือกนายกฯ จากบัญชีพรรคการเมือง

14 สิงหาคม 2567 ศาลรัฐธรรมนูญฟันเศรษฐา ทวีสิน พ้นตำแหน่งนายกฯ ครม. พ้นตำแหน่งตามทั้งคณะ ส่งผลให้ต้องมีการเลือกนายกฯ ใหม่และตั้ง ครม. ใหม่
ศาลรธน. มีมติ 5 : 4 ฟันเศรษฐาพ้นตำแหน่งนายกฯ ปมตั้ง “พิชิต ชื่นบาน” เป็น รมต.
อ่าน

ศาลรธน. มีมติ 5 : 4 ฟันเศรษฐาพ้นตำแหน่งนายกฯ ปมตั้ง “พิชิต ชื่นบาน” เป็น รมต.

14 สิงหาคม 2567 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติ 5 ต่อ 4 ให้เศรษฐา ทวีสิน พ้นตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากขาดคุณสมบัติ ไม่มีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์ และมีพฤติกรรมอันเป็นการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง จากปมทูลเกล้าฯ แต่งตั้งพิชิต ชื่นบาน เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีทั้งที่พิชิตเคยต้องคำพิพากษาจำคุกหกเดือนฐานละเมิดอำนาจศาล 
1 ปี #Conforall ภารกิจเสนอคำถามประชามติรัฐธรรมนูญใหม่จากประชาชน
อ่าน

1 ปี #Conforall ภารกิจเสนอคำถามประชามติรัฐธรรมนูญใหม่จากประชาชน

13 สิงหาคม 2567 ครบรอบหนึ่งปีเปิดตัวแคมเปญ #conforall เขียนใหม่ทั้งฉบับ เลือกตั้ง 100% เสนอคำถามประชามติต่อคณะรัฐมนตรี
ย้อนดู ชะตากรรม 5 นายกฯ ในมือศาลรัฐธรรมนูญ ใครรอด/ไม่รอด
อ่าน

ย้อนดู ชะตากรรม 5 นายกฯ ในมือศาลรัฐธรรมนูญ ใครรอด/ไม่รอด

14 สิงหาคม 2567 การตัดสินอนาคตทางการเมืองของเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี โดยศาลรัฐธรรมนูญ ไม่ใช่ครั้งแรกที่นายกฯ ไทยต้องเผชิญหน้ากับองค์กรที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง แต่มีบทบาทสูงในการชี้ทิศทางการเมืองไทย นับตั้งแต่รัฐธรรมนูญ 2540 2550 และ 2560 มีนายกฯ ห้าคนที่ต้องเข้าสู่การพิจารณาคุณสมบัติโดยศาลรัฐธรรมนูญ