Detcharut
อ่าน

ถอดบทเรียน คสช. ใช้มาตรา 44 สร้างเขตเศรษฐกิจพิเศษ ข้ามหัวสิทธิชุมชน กับ เดชรัต สุขกำเนิด

คสช. ใช้อำนาจพิเศษตามมาตรา 44 ออกคำสั่งมากมายหลายเรื่องเพื่อจัดการทรัพยากร โดยตัดสินใจไปก่อนไม่มีส่วนร่วมจากประชาชนในท้องถิ่น เช่น การสร้างเขตเศรษฐกิจพิเศษ การยกเว้นผังเมือง และข้ามขั้นตอนอีไอเอ อ.เดชรัต สุขกำเนิด พาชำแหละผลกระทบที่อาจตามมาจากอำนาจพิเศษแบบนี้
อ่าน

ร่างยุทธศาสตร์ชาติ ด้านสิ่งแวดล้อม: ตั้งเป้าใช้พลังงานหมุนเวียนร้อยละ 40

การจัดทำร่างยุทธศาสตร์ชาติ ด้านสิ่งแวดล้อม รัฐบาล คสช. แต่งตั้งธนวัฒน์ จารุพงษ์สกุล ประธานคณะกรรมการฯ และมีคณะกรรมการอีก 8 คน หลังจัดรับฟังความคิดเห็นประชาชนร่างยุทธศาสตร์ชาติฉบับนี้จะถูกแก้ไขเพิ่มเติมก่อนจะถูกเสนอต่อคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ
IMG_2575
อ่าน

กฎหมายการชุมนุมสาธารณะกับการปกป้องชุมชน

พ.ร.บ.ชุมนุมฯ เป็นกฎหมายใหม่ที่บัญญัติเงื่อนไขในการชุมนุมของประชาชนที่ควรจะมุ่งคุ้มครองต่อเสรีภาพการชุมนุมของประชาชน แต่กลายเป็นการสร้างภาระและหน่วงเหนี่ยวการใช้เสรีภาพของประชาชน ทั้งตัวบทกฎหมายยังปรากฏช่องโหว่ที่นำไปสู่การเอาผิดผู้ใช้เสรีภาพได้โดยง่าย นำไปสู่การพูดคุยเพื่อหาทางออกของการบังคับใช้กฎหมายฉบับนี
prasi
อ่าน

#Attitude adjusted?: ประสิทธิ์ชัย แกนนำค้านโรงไฟฟ้าถ่านหินกับการทัศนศึกษา”คุกทหาร”

การชุมนุมในเดือนกุมภาพันธ์ 2560 ครั้งนี้ส่งผลให้ประสิทธิ์ชัยและพวกอีก…คนถูกคุมตัวไปปรับทัศนคติในค่ายทหารเป็นเวลาหนึ่งคืน
แถลงค้าน ร่าง พ.ร.บ.สิ่งแวดล้อมฯ ฉบับใหม่ ไม่แก้ปัญหาและขัดจุดประสงค์การทำ EIA
อ่าน

แถลงค้าน ร่าง พ.ร.บ.สิ่งแวดล้อมฯ ฉบับใหม่ ไม่แก้ปัญหาและขัดจุดประสงค์การทำ EIA

ตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จัดทำร่างแก้ไขพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 หรือ พ.ร.บ.สิ่งแวดล้อมฯ ฉบับใหม่เสร็จสิ้น และส่งต่อให้เข้าสู่การพิจารณาของ สนช. ไปแล้วนั้น วันที่ 7 ธันวาคม 2560 ที่ศูนย์ประชุมพญาไทพลาซ่า จึงมีการจัดเสวนาเรื่อง “วิเคราะห์ ร่าง พ.ร.บ. สิ่งแวดล้อม กับ เจตนารมณ์ตามรัฐธรรมนูญ 2560” โดยมีผู้ร่วมพูดคุยประกอบด้วย ดร.สมิทธ์ ตุงคะสมติ อาจารย์วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต, ดร.ไชยณรงค์ เศรษฐเชื้อ อาจารย์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, รศ.ดร.เรณู เวชรัชต์พมิล เครือข่ายนักวิชาการ EHIA อดีตอาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 
Do not cooperate with NCPO
อ่าน

แถลงการณ์เครือข่ายเอ็นจีโอ แสดงจุดยืนไม่ร่วมงานกับ คสช.

แถลงการณ์เครือข่ายนักพัฒนาองค์กรเอกชน แสดงจุดยืนการไม่ร่วมกับกลไกกับดักสร้างความชอบธรรมให้รัฐบาลทหาร ระบุสามปีผลงานประจักษ์นำประเทศไปสู่ความทุกข์ยาก เอื้อประโยชน์กลุ่มทุนใหญ่ ลดทอนสิทธิชุมชน เพิกเฉยการมีส่วนร่วมและหลักประกันสิทธิในสิ่งแวดล้อมที่ดีของประชาชน
อ่าน

‘ร่างกฎหมายน้ำ’: มุ่งตอบสนองผู้มีเงินจ่ายค่าน้ำ การสร้างระบบบริหารน้ำล้มเหลวตั้งแต่ยังร่าง

ร่างพ.ร.บ.ทรัพยากรน้ำ เข้าสู่ สนช. แล้ว แต่หลักการที่จะบูรณาการอำนาจการจัดการดูแลน่าจะล้มเหลวแต่เริ่ม เพราะ คสช. ก็ใช้มาตรา 44 ตั้งสำนักงานบริหารจัดการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ ขึ้นมาคู่ขนาน หลักการของกฎหมายดูจะรวบอำนาจสู่ศูนย์กลาง และเอื้อให้ธุรกิจขนาดใหญ่
prasitchai noonuan
อ่าน

สัมภาษณ์ประสิทธิ์ชัย หนูนวล ในวันที่ กฟผ. ไล่ฟ้องคนค้านโรงไฟฟ้าถ่านหิน

นักเคลื่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม รับทราบข้อกล่าวหาในคดีที่การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) กล่าวหาเขาในข้อหาหมิ่นประมาทจากการโพสต์วิจารณ์โครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินที่ จ.กระบี่ ไอลอว์ถามต่อเรื่องการเคลื่อนไหวในยุคที่ประชาชนต้องร่วมจ่ายความมั่นคงทางพลังงานด้วยเสรีภาพ
Eastern Economic Corridor Act
อ่าน

Thailand Grand Sale: กม.เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกฉบับย่นย่อ

จากการพิจารณาเนื้อในร่างกฎหมายฉบับนี้แล้วพบว่า กฎหมายฉบับนี้เน้นการ 'ลด-แลก-แจก-แถม' สิทธิประโยชน์ต่างๆ ให้กับนักลงทุน โดยรวมศูนย์อำนาจตัดสินใจเกือบจะทุกเรื่องไปไว้ที่ 'คณะกรรมการนโยบายฯ' และ 'เลขาธิการฯ' นอกจากนี้ เพื่อการพัฒนาพื้นที่ในเขตพัฒนาพิเศษสามารถงดเว้นการบังคับใช้กฎหมายได้หลายฉบับ
Mining
อ่าน

เอกสารชี้แจง เหมืองทองมีผลกระทบจริง โดยสามารถใช้กฎหมายปกติสั่งปิดและฟื้นฟูเหมืองได้

เครือข่ายประชาชนผู้เป็นเจ้าของแร่ แสดงความคิดเห็นกรณีรัฐบาลเผด็จการทหาร คสช. ใช้อำนาจตามมาตรา ๔๔ ปิดกิจการเหมืองแร่ทองคำ ของบริษัท อัครา รีซอร์สเซส จำกัด (มหาชน)  ผู้ร่วมทุนรายใหญ่จากประเทศออสเตรเลีย