คดี 3 ทะลุฟ้าละเมิดอำนาจศาล ฎีการะบุพฤติการณ์ไม่รบกวนการพิจารณา ให้รอลงอาญาโทษจำคุก 15 วัน
อ่าน

คดี 3 ทะลุฟ้าละเมิดอำนาจศาล ฎีการะบุพฤติการณ์ไม่รบกวนการพิจารณา ให้รอลงอาญาโทษจำคุก 15 วัน

ศาลฎีกาพิพากษาแก้ว่า ในช่วงเวลาดังกล่าวมีผู้พิพากษาไม่ได้ออกนั่งจึงไม่ได้ก่อให้เกิดการรบกวนการพิจารณาคดีมากนัก เปลี่ยนโทษกักขังเป็นโทษจำคุก 15 วันและรอลงอาญาโทษจำคุกไว้ก่อน
ศาลฎีกาพิพากษาแก้ให้จำคุก 1 เดือนรอลงอาญา คดีละเมิดอำนาจศาล ปรับ 500 เหลือลุ้นอีก 1 คดี
อ่าน

ศาลฎีกาพิพากษาแก้ให้จำคุก 1 เดือนรอลงอาญา คดีละเมิดอำนาจศาล ปรับ 500 เหลือลุ้นอีก 1 คดี

วันที่ 4 มิถุนายน 2567 เวลา 9.00 น. ศาลอาญานัดฟังคำพิพากษาของศาลฎีกาในคดีละเมิดอำนาจศาล คดี ของ “ณัฐชนน ไพโรจน์” นักกิจกรรมและบัณฑิตจากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยคดีนี้ ในศาลอุทธรณ์พิพากษาลงโทษกักขังเป็นเวลา 1 เดือน 
ศาลตัดสิน 3 นักกิจกรรมผิดฐานปราศรัยดูหมิ่นศาล รอลงโทษ 2 คน จำคุก 1 คน
อ่าน

ศาลตัดสิน 3 นักกิจกรรมผิดฐานปราศรัยดูหมิ่นศาล รอลงโทษ 2 คน จำคุก 1 คน

17 ตุลาคม 2566 ศาลอาญานัดสามนักกิจกรรม ณัฐชนน ไพโรจน์ เบนจา อะปัญ และสมยศ พฤกษาเกษมสุข ฟังคำพิพากษาในคดีที่ทั้งสามถูกกล่าวหาในความผิดดูหมิ่นศาล จากกรณีร่วมการชุมนุมและปราศรัยใน #ม็อบ30เมษา ที่หน้าศาลอาญาเพื่อเรียกร้องสิทธิในการปล่อยตัวชั่วคราวให้กับพริษฐ์ ชิวารักษ์หรือเพนกวิน นอกจากความผิดฐานดูหมิ่นศาลแล้วทั้งสามยังถูกกล่าวหาในความผิดอื่น รวมทั้งข้อหาฝ่าฝืนข้อกำหนดห้ามชุมนุมตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ข้อหาใช้เครื่องเสียงโดยไม่ได้รับอนุญาต และข้อหามั่วสุมกันตั้งแต่สิบคนก่อความวุ่นวาย โดยศาลอาญามีคำพิพากษาว่าจำเลยทั้งสามคนทำความผิดฐานดูหมิ่นศาล ส่วนความผิดฐานฝ่าฝืนข้อกำหนดตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ และความผิ
Recap คดีดูหมิ่นศาล กรณีนักกิจกรรมปราศรัยเรียกร้องสิทธิการประกันตัวนักโทษการเมืองที่ศาลอาญา
อ่าน

Recap คดีดูหมิ่นศาล กรณีนักกิจกรรมปราศรัยเรียกร้องสิทธิการประกันตัวนักโทษการเมืองที่ศาลอาญา

1. วันที่ 17 ตุลาคม 2566 ศาลอาญานัด ณัฐชนน ไพโรจน์ เบนจา อะปัญ และสมยศ พฤกษาเกษมสุข ฟังคำพิพากษาในคดีดูหมิ่นศาลตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 198 จากกรณีที่ทั้งสามร่วมชุมนุมและปราศรัยที่หน้าศาลอาญาเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2564 เพื่อเรียกร้องสิทธิในการปล่อยตัวชั่วคราวให้กับจำเลยคดีการเมืองรวมทั้งคดีมาตรา 112 ที่ถูกคุมขังอยู่ในขณะนั้น
คดี #ละเมิดอำนาจศาล   พิจารณา “กึ่งเปิดเผย” แต่ “ห้ามจด” คำพูดผู้พิพากษา
อ่าน

คดี #ละเมิดอำนาจศาล พิจารณา “กึ่งเปิดเผย” แต่ “ห้ามจด” คำพูดผู้พิพากษา

หลักประกันสุดท้ายที่จะช่วยยืนยันว่า จำเลยเข้าถึงสิทธิขั้นพื้นฐาน และกระบวนการพิจารณาคดีที่เป็นธรรม คือ การพิจารณาโดยเปิดเผยต่อสาธารณชนอย่างเต็มที่
รวมคดีละเมิดอำนาจศาล/หมิ่นศาล  เกี่ยวเนื่องกับการชุมนุมทางการเมือง
อ่าน

รวมคดีละเมิดอำนาจศาล/หมิ่นศาล เกี่ยวเนื่องกับการชุมนุมทางการเมือง

รวมคดีละเมิดอำนาจศาล/หมิ่นศาล เกี่ยวเนื่องกับการชุมนุมทางการเมือง
5 ประเด็นการเมืองที่น่าจับตาจากแฮชแท็ก #Save บนทวิตเตอร์
อ่าน

5 ประเด็นการเมืองที่น่าจับตาจากแฮชแท็ก #Save บนทวิตเตอร์

ปี 2562-2563 พบว่า มีผู้ใช้ทวิตเตอร์ทวีตข้อความพร้อมติดแฮชแท็กที่มีข้อความคำว่า #Save อย่างน้อย 101 เรื่อง ส่วนใหญประกอบด้วยเรื่องของบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่กำลังเป็นกระแสในขณะนั้น อาทิ แฮชแท็ก #Saveวันเฉลิม
เก็บตกงานเสวนา เสาหลักต้องเป็นหลักอันศักดิ์สิทธิ์ – ศาลคือหน่วยงานสาธารณะที่ต้องถูกวิจารณ์และตรวจสอบโดยสาธารณะ
อ่าน

เก็บตกงานเสวนา เสาหลักต้องเป็นหลักอันศักดิ์สิทธิ์ – ศาลคือหน่วยงานสาธารณะที่ต้องถูกวิจารณ์และตรวจสอบโดยสาธารณะ

วันที่ 7 ตุลาคม 25…
วิจารณ์ศาลรัฐธรรมนูญโดย “สุจริต” ทำได้ แค่ไม่หยาบคาย เสียดสี อาฆาตมาดร้าย
อ่าน

วิจารณ์ศาลรัฐธรรมนูญโดย “สุจริต” ทำได้ แค่ไม่หยาบคาย เสียดสี อาฆาตมาดร้าย

การละเมิดอำนาจศาลรัฐธรรมนูญ รวมถึงห้ามวิจารณ์คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่กระทำด้วยความไม่สุจริตและใช้ถ้อยคำหรือความหมายที่หยาบคาย เสียดสี อาฆาตมาดร้ายอีกด้วย ซึ่งมีบทลงโทษสูงสุดคือ จำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 50,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
เชิญ รศ.โกวิท เข้าพบเหตุทวีตวิจารณ์ “เกินคำว่า ด้าน” เป็นการใช้อำนาจครั้งแรก หลังมีความผิดฐานละเมิดอำนาจศาลรัฐธรรมนูญ
อ่าน

เชิญ รศ.โกวิท เข้าพบเหตุทวีตวิจารณ์ “เกินคำว่า ด้าน” เป็นการใช้อำนาจครั้งแรก หลังมีความผิดฐานละเมิดอำนาจศาลรัฐธรรมนูญ

27 สิงหาคม 2562 สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญออกจดหมายเชิญ รศ.โกวิท วงศ์สุรวัฒน์ เข้าชี้แจงข้อเท็จจริงจากการโพสต์ข้อความวิจารณ์ศาลรัฐธรรมนูญ