การแย่งยึดที่ดินโดยกฎหมาย ใต้เงา คสช.
อ่าน

การแย่งยึดที่ดินโดยกฎหมาย ใต้เงา คสช.

ภายใต้รัฐบาล คสช. เน้นการกระตุ้นเศรษฐกิจโดยการตั้งนิคมอุตสาหกรรมใหม่ๆ ซึ่งเอาที่ดินจากแหล่งอื่นมาใช้งาน จึงมีการใช้ "มาตรา44" ออกคำสั่ง และออก พ.ร.บ. หลายฉบับ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เอาที่ดินในมือรัฐ หรือในมือประชาชน มามอบให้กลุ่มทุนใหญ่ใช้ประโยชน์ได้
ไม่มีนโยบายทวงคืนผืนป่า มีแต่การแย่งยึดที่ดินชาวบ้านใต้เงา คสช.
อ่าน

ไม่มีนโยบายทวงคืนผืนป่า มีแต่การแย่งยึดที่ดินชาวบ้านใต้เงา คสช.

หลังคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เข้ายึดอำนาจ นโยบายสำคัญที่คสช. เร่งรัดดำเนินการคือ ‘ทวงคืนผืนป่า’ ผ่านการออกคำสั่งจำนวนสองฉบับ ได้แก่ คำสั่ง คสช.ฉบับที่ 64/2557 และ 66/2557 ส่งผลให้ชาวบ้านถูกไล่ออกจากที่ดิน ไร้ที่ทำกิน ไม่มีที่อยู่อาศัย แต่ทว่า คสช. ก็ยังไม่บรรลุเป้าหมายในการทวงคืนผืนที่ป่าตามที่หวังเอาไว้
การศึกษาไทยใต้เงาคสช.
อ่าน

การศึกษาไทยใต้เงาคสช.

อาจเป็นเพราะตลอดเวลาที่คสช.อยู่ในอำนาจ กฎหมายและกลไกอื่นๆของรัฐได้ถูกใช้เป็นเครื่องมือจำกัดเสรีภาพของบุคลากรในภาควิชาการ อาจารย์และนักศึกษาบางส่วนได้รับสถานะ ”จำเลย” คดีอาญาเป็นของขวัญจากการจัดกิจกรรมทางวิชาการหรือเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมือง ขณะที่บางคนแม้ไม่มีคดีติดตัวแต่การแสดงออกก็ทำให้พวกเขาถูกหมายปองโดยคสช.บางคนถูกเรียกรายงานตัวในค่ายทหาร บางคนตกเป็นเป้าหมายมีทหารตำรวจเป็นแขกไปเยี่ยมถึงบ้านหรือมหาวิทยาลัย
รัฐบาล คสช.กำลังลักไก่นำประเทศไทยไปผูกพันกับความตกลง CPTPP
อ่าน

รัฐบาล คสช.กำลังลักไก่นำประเทศไทยไปผูกพันกับความตกลง CPTPP

สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรี ระบุว่า การขอเข้าเป็นสมาชิก CPTPP ของทำให้ประเทศไทยอยู่ในความสนใจของนักลงทุน ขณะที่ เอฟทีเอ ว็อทช์ ชี้ รัฐบาล คสช.  เตรียมลักไก่ ทั้งที่จะเลือกตั้งแล้ว ควรรอรัฐบาลชุดหน้าที่มีความชอบธรรม   
ภาคการเกษตรไทยในเงา คสช.
อ่าน

ภาคการเกษตรไทยในเงา คสช.

หลังจากการยึดอำนาจของ คสช. เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 ภาคการเกษตรไทยก็เป็นหนึ่งในเป้าสายตาของผู้ที่สนใจด้านการเมืองและนโยบายสาธารณะ เพราะก่อนหน้านั้นรัฐบาลยิ่งลักษณ์มักถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่า ดำเนินนโยบายการเกษตรแบบประชานิยม ทำให้ราคาสินค้าเกษตรสูงเกินจริง (โดยเฉพาะราคาข้าว) ผู้คนจึงสนใจว่า คสช. จะดำเนินนโยบายเกษตร และนำพาภาคการเกษตรไปสู่จุดใดคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นักวิชาการชี้ ‘ปฏิรูประบบราชการ-กระจายอำนาจ’ ยกระดับคุณภาพชีวิตได้
อ่าน

นักวิชาการชี้ ‘ปฏิรูประบบราชการ-กระจายอำนาจ’ ยกระดับคุณภาพชีวิตได้

เสวนา Thammasat Resolution Talk: ตั้งโจทย์-ตอบอนาคต วาระการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยหลังการเลือกตั้ง ครั้งที่ 2 ในหัวข้อ “การกระจายอำนาจและปฏิรูประบบราชการ” พูดคุยถึงปัญหา อุปสรรค ความล้มเหลวและความหวังของการกระจายอำนาจและการปฏิรูประบบราชการไทย นักวิชาการชี้ว่าปัญหาทั้งสองเป็นเรื่องเดียวกัน และการกระจายอำนาจยังเกี่ยวพันกับเรื่องเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตของผู้คน  
ร่าง พ.ร.บ.มั่นคงไซเบอร์ฯ ร่างมาแล้ว 3 ฉบับ ให้อำนาจรัฐสอดส่องประชาชนทุกฉบับ
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.มั่นคงไซเบอร์ฯ ร่างมาแล้ว 3 ฉบับ ให้อำนาจรัฐสอดส่องประชาชนทุกฉบับ

11 ตุลาคม 2561  'ร่าง พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ. …' กลับมาอีกครั้ง โดยเนื้อหาของ ร่าง พ.ร.บ.มั่นคงไซเบอร์ฯ ฉบับใหม่ ยังให้อำนาจรัฐเข้าถึงข้อมูลของประชาชนได้ เพียงแค่มีเหตุอันควรสงสัยว่าคนนั้นเกี่ยวข้องกับภัยคุกคามไซเบอร์ และเพื่อลดความเสี่ยงจากภัยคุกคามไซเบอร์ ยังให้อำนาจเจ้าหน้าที่บุกตรวจค้นและยึดคอมพิวเตอร์ได้ทันที โดยไม่ต้องมีหมายศาลเหมือนเดิม
วงเสวนา ชำแหละ ร่าง พ.ร.บ.มั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ฯ ชี้สุ่มเสี่ยงละเมิดสิทธิประชาชนพร้อมเรียกร้องให้ปรับแก้
อ่าน

วงเสวนา ชำแหละ ร่าง พ.ร.บ.มั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ฯ ชี้สุ่มเสี่ยงละเมิดสิทธิประชาชนพร้อมเรียกร้องให้ปรับแก้

26 ตุลาคม 2561 ที่สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย มีการจัดกิจกรรมราชดำเนินเสวนาในหัวข้อ “อันตรายกฎหมายไซเบอร์…?” โดยวงดังกล่าวประกอบไปด้วยนักกฎหมาย นักวิชาการ และตัวแทนภาครัฐ ซึ่งมีประเด็นจากวงว่า กฎหมายมั่นคงไซเบอร์ฯ สุ่มเสี่ยงละเมิดสิทธิเสรีภาพประชาชนพร้อมเรียกร้องให้ปรับแก้
ร่างพ.ร.บ.เอกสิทธิ์และความคุ้มกันองค์การระหว่างประเทศฯ: องค์การระหว่างประเทศห้ามกระทบความมั่นคง และแทรกแซงกิจการภายใน
อ่าน

ร่างพ.ร.บ.เอกสิทธิ์และความคุ้มกันองค์การระหว่างประเทศฯ: องค์การระหว่างประเทศห้ามกระทบความมั่นคง และแทรกแซงกิจการภายใน

สนช. รับหลักการร่าง พ.ร.บ.เอกสิทธิ์และความคุ้มกันสำหรับองค์การระหว่างประเทศฯ ซึ่งจะกำหนดเอกสิทธิ์และความคุ้มกันอย่างเป็นทางการให้กับองค์การระหว่างประเทศที่จะมาตั้งสำนักงานในไทย และบุคลากรของหน่วยงานดังกล่าว รวมถึงการประชุม และผู้เข้าร่วมการประชุมประหว่างประเทศด้วย