51367729749_48b47a195d_b
อ่าน

Watchlist: เมื่อรัฐขึ้นบัญชีจับตาประชาชนที่ต่อต้าน

9 สิงหาคม 2564 มีการเผยแพร่เอกสารที่ถูกระบุว่าเป็นข้อมูล "ลับที่สุด" ในโลกออนไลน์ โดยเอกสารดังกล่าวคาดว่าเป็นของกองบังคับการตำรวจตรวจคนเข้าเมือง และประกอบไปด้วยข้อมูลของประชาชน ได้แก่ บรรดานักกิจกรรมหรือนักเคลื่อนไหวทางการเมือง นักการเมือง สื่อมวลชน นักวิชาการ และภาคประชาชน รวมแล้ว 183 รายชื่อ และข้อมูลบัญชีโซเชียลมีเดียอีก 19 บัญชี ซึ่งรายชื่อเหล่านี้ถูกระบุสถานะในเอกสารว่าเป็นกลุ่ม Watchlist หรือกลุ่มที่รัฐกำลังจับตา 
Thumbnail สิทธิแสดงออก
อ่าน

สรุปรัฐธรรมนูญ 2560: เสรีภาพการแสดงความเห็น-วิชาการ-สื่อมวลชน ตั้งแต่ปี 40 หลักการเดิม แต่รายละเอียดเปลี่ยน

เทียบเสรีภาพการแสดงออกในรัฐธรรมนูญถาวรสามฉบับตั้งแต่ปี 2540 พบว่า หลักการเหมือนกันแต่รายละเอียดเปลี่ยนไป รัฐธรรมนูญ​ 2560 ตัดความเป็นส่วนตัว สิทธิครอบครัว สุขภาพจิต จากข้อยกเว้นการใช้เสรีภาพการแสดงความคิดเห็น ตัดการคุ้มครองการสอน อบรม วิจัย จากเสรีภาพทางวิชาการ และรับรองเสรีภาพของสื่อกว้างๆ ว่า “บุคคลที่ประกอบวิชาชีพสื่อมวลชน”
36740692456_d7ebaa8d14_o
อ่าน

สำรวจเสรีภาพเพื่อนบ้าน ชะตากรรมชาวลาวที่(กล้า)วิพากษ์โครงการพัฒนา

สำรวจสถานการณ์เสรีภาพเพื่อนบ้านอย่าง สปป.ลาว หนักหนาไม่แพ้กันและอาจยิ่งกว่า โดยเฉพาะโครงการเขื่อนไฟฟ้าพลังงานน้ำเซเปียน เซน้ำน้อย ที่มุ่งขายไฟฟ้าส่วนใหญ่ให้ไทย ภายใต้กระแสไฟฟ้าที่เราจะได้ใช้ คนที่นั่นต้องจ่ายราคาอย่างไรบ้าง
WH
อ่าน

ไวรัสอู่ฮั่น อีกเหตุผลที่เราต้องรักษาเสรีภาพ

ไม่ใช่ครั้งแรกที่จีนแสดงท่าทีปกปิดข้อเท็จจริงหรือจำกัดเสรีภาพการแสดงออกเกี่ยวกับการแพร่ระบาดของโรค แต่เคยเกิดขึ้นมาแล้วในครั้งการแพร่ระบาดของโรคซาร์สเมื่อปี 2545 การแพร่ระบาดของไวรัสในระบบทางเดินหายใจทั้งสองครั้งกลายเป็นอีกหนึ่งเหตุผลว่า ทำไมเราต้องปกป้องเสรีภาพในทุกด้านของมนุษย์ทุกคน
81986351_461682807844328_6824370388126924800_n
อ่าน

สนทนากับนักกิจกรรม ม.อุบลฯ ในเหตุแห่งการออกมาวิ่งไล่ใครบางคน

สนทนากับบัณฑิตคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และนักกิจกรรมจากกลุ่มดินอีสาน ผู้ตัดสินใจรื้อชุดนักเรียนออกมาสวมใส่ใน #วิ่งไล่ลุง ที่อุบลราชธานี
อ่าน

Thailand Post Election Report: ม.116 “ยุยงปลุกปั่น” อาวุธทางการเมืองและสิ่งทดแทน ม.112

ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 116 หรือข้อหา “ยุยงปลุกปั่น” เป็นกฎหมายที่ถูกนำมาใช้บ่อยครั้งหลังการรัฐประหารในปี 2557 เป็นต้นมา โดยเฉพาะกับกลุ่มคนที่แสดงออกหรือแสดงความคิดเห็นทางการเมืองในเชิงวิพากษ์วิจารณ์หรือต่อต้านคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.)   จากข้อมูลที่ศูนย์ข้อมูลคดีเสรีภาพรวบรวมไว้ ตั้งแต่ 22 พฤษภาคม 2557 ถึง 26 ธันวาคม 2562 มีผู้ถูกดำเนินคดีอย่างน้อย 130 ราย แบ่งเป็น   การชุมนุมหรือการแสดงออกเชิญสัญลักษณ์หรือเป็นผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง 82 ราย   การแสดงความคิดเห็นต่อสาธารณะทั้งออนไลน์และออฟไลน์ 48 ราย เฉพาะหลั
Slapps siminar2
อ่าน

วงเสวนาฟ้องปิดปากชี้ แม้มีการออกกฎหมายเพื่อแก้ไขการฟ้องปิดปากแต่อาจจะไม่มีผลบังคับใช้ได้จริง

สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชนจัดวงคุยเสวนาแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นและประสบการณ์ของนักกฎหมาย ในส่วนของกลไกกฎหมายป้องกันการฟ้องปิดปากในประเทศไทย ซึ่งพบว่าแม้ทางฝ่ายรัฐจะมีการเพิ่มข้อกฎหมายที่เหมือนจะเป็นการแก้ปัญหาการฟ้องคดีปิดปาก แต่ในความเป็นจริงแล้วอาจจะไม่มีผลบังคับใช้จริง
Slapps siminar
อ่าน

ยุคสมัยที่ใช้คดี “ปิดปาก” พูดเรื่องเขื่อน-แรงงาน-ซ้อมทรมาน-การเมือง ถูกฟ้องได้หมด

สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชนจัดงานเสวนาสถานการณ์คดี "ปิดปาก" หรือ SLAPPS ผู้ที่ถูกดำเนินคดีจากการแสดงความคิดเห็นในประเด็นสาธารณะมาแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ทั้งนักกิจกรรมที่เคลื่อนไหวทางการเมือง ประชาชนที่เคลื่อนไหวเพื่อปกป้องทรัพยากร และคนทำงานด้านสิทธิมนุษยชนที่รายงานเรื่องสิทธิแรงงาน และการซ้อมทรมานในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
Administrate Court
อ่าน

ภาคประชาสังคมฟ้องศาลปกครองสูงสุด ขอเพิกถอนประกาศ กกต. จำกัดเสรีภาพรณรงค์ประชามติ

iLaw ควง สสส. นักวิชาการ นักกิจกรรม ยื่นฟ้องศาลปกครองสูงสุด ขอเพิกถอนประกาศ กกต. เนื่องจากจำกัดเสรีภาพในการแสดงความเห็นเรื่องประชามติเกินความจำเป็น ทำให้ทำกิจกรรมรณรงค์หรือขายเสื้อไม่ได้ พร้อมขอให้ระงับการออกอากาศรายการ “7 สิงหา ประชามติร่วมใจ” เพราะให้น้ำหนักข้างเดียว
อ่าน

ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: ประชามติต้องเปิดใจไม่ใช่ปิดปาก

อีก 43 วัน ก็จะถึงวันออกเสียงประชามติ แต่มันจะเป็นประชามติแบบไหน มันจะเป็นประชามติที่รัฐพร้อมจะเปิดใจฟังเสียงคัดค้านต่อเนื้อหาร่างรัฐธรรมนูญ และเปิดพื้นที่ให้ประชาชนได้ถกเถียงเพื่อทำความเข้าใจผลของการลงประชามติอย่างแท้จริงหรือไม่ หรือสุดท้ายจะเป็นเพียงพิธีกรรมที่รัฐเป็นผู้ควบคุมด้วยกฎหมายและความกลัว