Bunjongsak Wongprachaya Judge of constitutional court
อ่าน

ส.ว.เห็นชอบ ‘บรรจงศักดิ์ วงศ์ปราชญ์’ เป็นศาลรัฐธรรมนูญ

13 กรกฎาคม 2563 ที่ประชุมวุฒิสภา มีมติเห็นชอบให้ บรรจงศักดิ์ วงศ์ปราชญ์ ตัวแทนจากศาลปกครองสูงสุด ดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญคนใหม่ ทำให้ขณะนี้ตุลากาลศาลรัฐธรรมนูญของประเทศไทยมีครบองค์คณะ 9 คนตามที่รัฐธรรมนูญกำหนดแล้ว
เปิด 14 ชื่อเข้ารอบลุ้น 'ตุลาการศาลปกครองสูงสุด'  มีชื่อเลขาฯ ป.ป.ช. ด้วย
อ่าน

เปิด 14 ชื่อเข้ารอบลุ้น ‘ตุลาการศาลปกครองสูงสุด’ มีชื่อเลขาฯ ป.ป.ช. ด้วย

23 เมษายน 2563 เว็บไซต์ศาลปกครองเผยแพร่ประกาศ ก.ศป. เรื่อง รายชื่อผู้ผ่านการตรวจสอบคุณสมบัติเบื้องต้นในการคัดเลือกบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งตุลาการศาลปกครองสูงสุด โดยมีผู้ผ่านการตรวจสอบคุณสมบัติเบื้องต้น และมีสิทธิเข้ารับการประเมินประสบการณ์ในการทำงาน หรือผลงานทางวิชาการทั้งหมด 14 คน พบว่ามีเลขาฯ ป.ป.ช. ผ่านการคัดเลือกด้วย
ที่ประชุมใหญ่ศาลปกครองสูงสุด เลือก บรรจงศักดิ์ วงปราชญ์ ส่งให้ ส.ว. ลงมติเป็นตุล
อ่าน

ที่ประชุมใหญ่ศาลปกครองสูงสุด เลือก บรรจงศักดิ์ วงปราชญ์ ส่งให้ ส.ว. ลงมติเป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ

4 มีนาคม 2563 ที่ประชุมใหญ่ตุลาการศาลปกครองสูงสุด มีมติเลือก บรรจงศักดิ์ วงศ์ปราชญ์ ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด เพื่อส่งให้วุฒิสภาลงมติให้ดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ แทนที่ ชั่งทอง โอภาสศิริวิทย์ ผู้ได้รับคัดเลือกจากศาลปกครองสูงสุดคนก่อน ที่วุฒิสภามีมติไม่เห็นชอบให้ดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
Admin Court order
อ่าน

ศาลปกครองไม่รับฟ้อง ชี้ผู้ฟ้องคดีไม่เสียหาย สั่ง กกต.แจงสังคมให้ชัดว่า การฝ่าฝืนประกาศไม่มีโทษ

ศาลปกครองสูงสุดสั่งไม่รับฟ้อง คดีที่ไอลอว์และภาคประชาสังคมฟ้องขอให้เพิกถอนประกาศห้ามแสดงความเห็นของ กกต. ชี้ผู้ฟ้องคดีไม่เสียหาย ไม่มีอำนาจฟ้อง ไอลอว์รับผลออกมาเช่นนี้เพราะเทคนิคทางกฎหมาย แต่พร้อมทำกิจกรรมต่อเพื่อยืนยันเสรีภาพการแสดงออก
Administrate Court
อ่าน

ภาคประชาสังคมฟ้องศาลปกครองสูงสุด ขอเพิกถอนประกาศ กกต. จำกัดเสรีภาพรณรงค์ประชามติ

iLaw ควง สสส. นักวิชาการ นักกิจกรรม ยื่นฟ้องศาลปกครองสูงสุด ขอเพิกถอนประกาศ กกต. เนื่องจากจำกัดเสรีภาพในการแสดงความเห็นเรื่องประชามติเกินความจำเป็น ทำให้ทำกิจกรรมรณรงค์หรือขายเสื้อไม่ได้ พร้อมขอให้ระงับการออกอากาศรายการ “7 สิงหา ประชามติร่วมใจ” เพราะให้น้ำหนักข้างเดียว

Thailand’s Freedom of Expression During 2012-2013: New Prosecutions, Laws, Policies, Directives and Verdicts

  At present, Thailand’s right to freedom of expression is subjected to numerous regulations. It should be noted that all of the applicable laws to regulate freedom of expression in Thailand have been drafted and enacted by the National Legislative Assembly (NLA) installed after the 19 September 2006 military coup.

สถานการณ์เสรีภาพการแสดงออก ประเทศไทย พ.ศ. 2555 – 2556 : ว่าด้วย การดำเนินคดี กฎหมาย นโยบาย คำสั่ง และคำพิพากษา ใหม่

ปัจจุบัน การแสดงความคิดเห็นในสังคมไทยถูกกำกับด้วยกฎหมายหลายฉบับ น่าสังเกตว่ากฎหมายที่เกี่ยวกับสื่อและเสรีภาพในการแสดงออกแทบทุกฉบับที่บังคับใช้อยู่ปัจจุบันถูกเขียนขึ้นและประกาศใช้โดยสภานิติบัญญัติแห่งชาติซึ่งแต่งตั้งขึ้นหลังการรัฐประหารเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2549 ในปีพ.ศ. 2555 – 2556 เป็นปีที่รูปแบบการใช้กฎหมายเหล่านั้นค่อยๆ ปรากฏตัวให้เห็นชัดเจนมากขึ้น หลายกรณีที่ถูกดำเนินคดีจากเหตุการณ์ทางการเมืองก็ได้เข้าสู่การพิจารณาช่วงปีพ.ศ. 2555-2556 นี้เอง และมีหลายคดีที่ศาลมีคำพิพากษาที่ตีความกฎหมายและสร้างบรรทัดฐานต่อประเด็นสิทธิเสรีภาพในการแสดงออกออกมาให้เห็นเป็นแนวทางในปีนี้เช่นกัน

คดีเสรีภาพปี 2556 : ปีแห่งศาลอุทธรณ์และศาลสูง

เวลาเดินผ่านไปอย่างรวดเร็วจนใกล้จะหมดปี 2556 แล้ว หากย้อนมองดูสถานการณ์ด้านเสรีภาพนับตั้งแต่มกราคมจนถึงตุลาคม แม้ยังไม่ครบปีแต่ก็พอเห็นได้ว่าปีนี้เป็นปีที่สถานการณ์เสรีภาพมีความแปรปรวนอย่างมาก นักโทษจากคดีเสรีภาพจำนวนหนึ่งได้รับเสรีภาพทางกาย คือได้รับการปล่อยตัวจากการคุมขังในเรือนจำ ทั้งโดยสู้คดีชนะในศาลชั้นต้นและได้รับพระราชทานอภัยโทษ แต่ขณะเดียวกัน ก็มีการละเมิดกรณีใหม่ๆ เกิดขึ้น คดีทางการเมืองหลายคดีที่น่าจะจบ เพราะตำรวจสั่งไม่ฟ้อง หรือศาลชั้นต้นยกฟ้องไปแล้ว แต่สำนักงานอัยการมักมีคำสั่งให้ทบทวนคดี หรืออุทธรณ์คดีต่อ และเมื่อถึงชั้นศาลอุทธรณ์ ก็มีคำพิพากษากลับ ให้ลงโทษใน “ทุก” คดี <