อ่าน

ผู้หญิงมีสิทธิเลือกตั้งตอนไหน? ชวนย้อนดูประวัติศาสตร์แต่ประเทศ

วันที่ 8 มีนาคม เป็นวันที่ทั้งโลกร่วมรำลึกถึงขบวนการต่อสู้เพื่อความเท่าเทียมทางเพศของผู้หญิงทั่วโลกที่เคยถูกเอารัดเอาเปรียบจากการใช้แรงงานที่กดขี่และเอาเปรียบ ในโอกาสวันสตรีสากล ชวนย้อนดูประวัติศาสตร์สิทธิเลือกตั้งของผู้หญิง ห้าประเทศ ได้แก่ นิวซีแลนด์ ไทย สหรัฐอเมริกา เยอรมนี และปากีสถาน ว่าผู้หญิงมีสิทธิเลือกตั้งกันเมื่อไร
70179294_10162443478460551_76756953979682816_n
อ่าน

Change.NCPO “แม่หนึ่ง” จากแม่นักกิจกรรมคนหนึ่ง สู่จำเลยสองคดีการเมืองยุค คสช.

เท่าที่แม่จำได้ นิวน่าจะเริ่มทำกิจกรรมช่วงปี 2554 สมัยที่เรียนอยู่ปี 2 ที่ธรรมศาสตร์ ตอนแรกแม่ก็นึกว่านิวทำกิจกรรมแบบนักศึกษาทั่วไปอย่างออกค่ายชนบท แต่ไปๆมาๆก็รู้สึกว่ากิจกรรมของลูกออกจะแหวกแนวไปบ้าง แต่ก็ไม่ได้ห้ามลูกนะแค่เตือนว่าทำกิจกรรมยังไงก็อย่าทิ้งการเรียน ครั้งแรกที่นิวถูกจับคือตอนไปทำกิจกรรมเลือกตั้งที่(รัก)ลักที่หน้าหอศิลป์ จำได้ว่าตอนนั้นแม่กำลังทำงานอยู่นิวโทรมาบอกว่า “แม่มาหานิวหน่อยได้ไหม” แม่ก็บอกว่าได้ ให้ไปหาที่ไหน นิวก็บอกเสียงนิ่งๆว่าสน.ปทุมวัน พอรู้เรื่องแม่ก็รู้สึกเครียดมาก ร้องไห้เหมือนคนบ้าเลย ตอนนั้นก็ยังไม
70179294_10162443478460551_76756953979682816_n
อ่าน

Change.NCPO “Nueng” a mother frontline activist who had become a defendant in two political cases under NCPO

As far as I can recalled, New started his activism in 2011 while he studied in the second year at Thammasart University. Initially I thought my son just taken part in ordinary student activity like a rural development volunteer camp but later on I realized that his activism was extraordinary.
อ่าน

ฟังข้อเรียกร้องจากผู้หญิงนักปกป้องสิทธิ ขอให้ถอนคดี ยกเลิกประกาศ/คำสั่ง คสช.

เนื่องในวันสตรีสากล กสม. จัดงานมอบรางวัลกับเชิดชูเกียรติแด่บุคคลและองค์กร 6 รางวัล ที่เป็นผู้หญิงทำงานปกป้องสิทธิมนุษยชน ผู้ได้รับรางวัลยังเรียกร้องพื้นที่สำหรับผู้หญิง ให้รัฐคอยปกป้องสิทธิไม่ใช่เป็นผู้ทำร้าย ให้ถอนฟ้องคดีปิดปาก และยกเลิกประกาศ คสช. ที่จำกัดการแสดงออก
Varaporn Chamsanit
อ่าน

ทำไมความรุนแรงทางเพศที่เกิดขึ้นกับผู้หญิง ผู้หญิงกลับเป็นฝ่ายถูกตั้งคำถาม

จากข่าวข่มขืนนักศึกษาธรรมศาสตร์ นำมาสู่การวิเคราะห์ปัญหาความรุนแรงทางเพศว่า ความรุนแรงเรื่องเพศต่อผู้หญิง ถูกล้อมด้วย ‘อคติ’ ทางเพศของสังคม ไม่ใช่ ‘ปัญหาส่วนตัว’  แต่เป็นปัญหา ‘โครงสร้างของรัฐ’ และชวนคิดถึงหญิงที่พิการ หรือหญิงเป็นแรงงานข้ามชาติ ที่จะยิ่งพบอุปสรรคในกระบวนการยุติธรรมของไทย
112_thum
อ่าน

112 The Series

  112 The Series  Translated by Tyrell Haberkorn This is a series of stories about people who are prosecuted under Article 112 of the Criminal Code, or the lèse majesté law, from a perspective rarely seen by society. The stories weave together narratives about the personal lives of those prosecuted under Article 112.
Grand Palace
อ่าน

วิวัฒนาการของ “กฎหมายหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์” ในรอบ 200 ปี ตามบริบทสังคมการเมือง

ปัจจุบันแทบไม่มีใครไม่รู้จักกฎหมายอาญามาตรา 112 หรือ กฎหมาย “หมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ฯ” หรือที่บางคนเคยเรียกว่า “กฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ” กฎหมายมาตรานี้เป็นกฎหมายพิเศษที่คุ้มครองชื่อเสียงเกียรติยศของพระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท และผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
photo_2015-02-23_19-44-40
อ่าน

Pornthip: A Theater Group, A Dream

“The matter of the law came up before the performance. We talked about it together backstage before we went on, too. We thought it was similar to the folkloric dramas shown in the morning on television. These dramas also contain stories of the lords. We thought that there was no chance that prosecutions would arise from the performance of a play.
bunpodjeng
อ่าน

แผนผังผู้ถูกกล่าวหาว่าร่วม “เครือข่ายบรรพต”

ปลายเดือนมกราคม 2558 ถึง ต้นเดือนกุมภาพันธ์ 2558 มีข่าวการจับกุมผู้ต้องหาฐานหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ฯ ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 จำนวนมาก พวกเขาถูกกล่าวหาเชื่อมโยงกันว่าเข้าร่วมอยู่ใน “เครือข่ายบรรพต” หรือ เครือข่ายที่ผลิตและเผยแพร่คลิปเสียงที่มีผู้ใช้ชื่อว่า “บรรพต” จัดรายการวิเคราะห์สังคม การเมือง และเรื่องเกี่ยวกับสุขภาพ ว่ากันว่าเจ้าของเสียง “บรรพต” นั้น เป็นหนึ่งในผู้ต้องหาที่ตำรวจกองบังคับการปราบปรามการกระทำผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเทคโนโลยี หรือ ปอท.