ถอดรหัสการลงมติ #แก้รัฐธรรมนูญ – ส.ว. โหวตแบบ “ไม่สนโลก”
อ่าน

ถอดรหัสการลงมติ #แก้รัฐธรรมนูญ – ส.ว. โหวตแบบ “ไม่สนโลก”

จากการตรวจดูผลการลงมติแก้รัฐธรรมนูญ พบว่า การลงมติของ ส.ว. เป็นไปอย่าง “ไม่สนโลก” ไม่ว่าจะเป็นการลงมติเพื่อขัดขวางเสียงข้างมากของสภาผู้แทนฯ การขาดประชุมของ ส.ว. ที่ควบตำแหน่งผู้นำเหล่าทัพ หรือ การเปลี่ยนจุดยืนของ ส.ว. ที่เคยลงมติปิดสวิตซ์ ส.ว.
แก้รัฐธรรมนูญ: สรุปการประชุมสภาแก้รัฐธรรมนูญภาคสองวันแรก
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: สรุปการประชุมสภาแก้รัฐธรรมนูญภาคสองวันแรก

23 มิถุนายน 2564 ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา ซึ่งประกอบไปด้วย ส.ส. และ ส.ว. มีนัดพิจารณาญัตติแก้รัฐธรรมนูญแบบ “รายมาตรา” รวมกัน 13 ฉบับ โดยประเด็หลักที่มีการอภิปรายอย่างกว้างขวางคือ เรื่องอำนาจของ ส.ว. ในการร่วมเลือกนายกรัฐมนตรี ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 272 กับ การจำกัดอำนาจของ ส.ส. ในการแปรญัตติงบประมาณ และการแทรกแซงการดำเนินงานของราชการ ตามมาตรา 144 กับ 185 ตามลำดับ
หยุดอ้างประชามติ! เพราะพรรคที่เสนอ “ปิดสวิตซ์ ส.ว.” มาจากประชาชน 23 ล้านเสียง
อ่าน

หยุดอ้างประชามติ! เพราะพรรคที่เสนอ “ปิดสวิตซ์ ส.ว.” มาจากประชาชน 23 ล้านเสียง

ในศึกแก้รัฐธรรมนูญภาคสอง หนึ่งในประเด็นหลักที่พรรคการเมืองทั้งฝ่ายรัฐบาลและพรรคฝ่ายค้านต่างอภิปรายตรงกัน คือ การยกเลิก มาตรา 272 ที่ให้ ส.ว. มีอำนาจเลือกนายกรัฐมนตรีในช่วงห้าปีแรกของบทเฉพาะกาล แต่ทว่าประเด็นดังกล่าวก็นำไปสู่การลุกขึ้นประท้วงของฝ่าย ส.ว. อาทิ กิตติศักดิ์ รัตนวราหะ ยืนยันย้ำเตือนว่า อำนาจ ส.ว. มาจากการออกเสียงประชามติจาก “พี่น้องประชาชน 16 ล้านคน”
แก้รัฐธรรมนูญ: “แก้ระบบเลือกตั้ง-ปิดสวิตซ์ ส.ว.” จุดร่วมฝ่ายค้านและพรรคร่วมรัฐบาล
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: “แก้ระบบเลือกตั้ง-ปิดสวิตซ์ ส.ว.” จุดร่วมฝ่ายค้านและพรรคร่วมรัฐบาล

ในศึกการแก้รัฐธรรมนูญภาคสอง ทั้งพรรครัฐบาลและฝ่ายค้านต่างมีจุดร่วมสำคัญอยู่ที่การแก้ไขเรื่อง “ระบบเลือกตั้ง” ให้กลับไปใช้บัตรเลือกตั้งสองใบเช่นเดียวกับระบบเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญ ปี 2540 แต่จุดต่างที่สำคัญ ซึ่งพรรคพลังประชารัฐเป็นกลุ่มเดียวที่ไม่ยอมเสนอ คือ การ “ปิดสวิตซ์ ส.ว.” หรือยกเลิกที่มาและอำนาจของวุฒิสภาตามบทเฉพาะกาล หรือ ยกเลิก ส.ว. ที่มาจากการคัดเลือกของ คสช.
สรุปโพสต์เดียวจบ! พ.ร.ก.เงินกู้ห้าแสนล้านบาท ทำไมต้องกู้-เอาไปใช้ทำอะไร?
อ่าน

สรุปโพสต์เดียวจบ! พ.ร.ก.เงินกู้ห้าแสนล้านบาท ทำไมต้องกู้-เอาไปใช้ทำอะไร?

9 มิถุนายน 2564 สภาผู้แทนราษฎรมีนัดพิจารณาอนุมัติพ.ร.ก.เงินกู้ห้าแสนล้านบาท ซึ่งถือว่าเป็นการกู้เงินรอบที่สองของรัฐบาล ท่ามกลางเสียงวิพากษ์วิจารณ์ว่า ที่ผ่านมารัฐบาลล้มเหลวในการใช้เงินกู้เพื่อแก้ปัญหาจากโรคโควิด-19
ร่างรัฐธรรมนูญวาระสามล่ม! เสียงเห็นชอบไม่เกินครึ่ง-เสียง ส.ว.เห็นชอบไม่ถึงหนึ่งในสาม
อ่าน

ร่างรัฐธรรมนูญวาระสามล่ม! เสียงเห็นชอบไม่เกินครึ่ง-เสียง ส.ว.เห็นชอบไม่ถึงหนึ่งในสาม

17 มีนาคม 2564 รัฐสภามีมติเห็นชอบร่างแก้รัฐธรรมนูญ ในวาระสาม เพียง 208 เสียง ซึ่งไม่เกินกึ่งหนึ่งของสมาชิกรัฐสภา จึงเป็นผลให้ร่างเป็นอันตกไป
แก้รัฐธรรมนูญ: สรุปผลการประชุมรัฐสภาในวาระสอง
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: สรุปผลการประชุมรัฐสภาในวาระสอง

24 และ 25 กุมภาพันธ์ 2564 ที่ประชุมร่วมของรัฐสภาซึ่งประกอบด้วยสภาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) และ สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) จะมีการพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ..) พุทธศักราช ….  ฉบับที่คณะกรรมาธิการ (กมธ.แก้รัฐธรรมนูญฯ) ได้พิจารณาเสร็จสิ้นแล้ว
รวมสรุปอภิปรายในประเด็น “สสร. ห้ามแก้หมวด 1-2”
อ่าน

รวมสรุปอภิปรายในประเด็น “สสร. ห้ามแก้หมวด 1-2”

25 ก.พ.64 รัฐสภาพิจารณา #ร่างรัฐธรรมนูญ ถกเถียงกันว่า เมื่อตั้ง สสร. มาร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ จะสามารถเขียน หมวด 1 บททั่วไป หมวด 2 พระมหากษัตริย์ ได้หรือไม่
แก้รัฐธรรมนูญ: สภาลงมติวาระสอง เปิดทางแก้รัฐธรรมนูญโดยอาศัยเสียง 3 ใน 5 ของรัฐสภา
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: สภาลงมติวาระสอง เปิดทางแก้รัฐธรรมนูญโดยอาศัยเสียง 3 ใน 5 ของรัฐสภา

24 ก.พ. 64 รัฐสภาลงมติร่างแก้รัฐธรรมนูญวาระสอ โดยคงมาตรา 3 ซึ่งเป็นการแก้ไขรัฐธรรมนูญ มาตรา 256 ตามร่างแก้รัฐธรรมนูญที่รัฐสภาเห็นชอบในวาระหนึ่ง
แก้รัฐธรรมนูญ: สำรวจข้อเสนอ “ระบบเลือกตั้ง สสร.” ผ่านคำ แปรญัตติ
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: สำรวจข้อเสนอ “ระบบเลือกตั้ง สสร.” ผ่านคำ แปรญัตติ

สาระสำคัญของร่างแก้รัฐธรรมนูญ ฉบับ กมธ. คือ การจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ โดยให้มีสภาร่างรัฐธรรมนูญ มาจากการเลือกตั้งจำนวน 200 คน โดยใช้จังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง