02
อ่าน

“มีส่วนร่วมได้เท่าที่เขากำหนด” บทสรุปการมีส่วนร่วมยุคคสช.

ตลอดเกือบ 5 ปี ที่ประเทศต้องอยู่ภายใต้การปกครองของคสช. ดูเหมือนขอบเขตของการมีส่วนร่วมของประชาชนในมิติต่างๆ จะดูแคบลง เพราะ คสช. ต้องการจะผูกขาดอำนาจในการออกกฎหมายและนโยบาย ในขณะเดียวกันก็เปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมได้เท่าที่ คสช. กำหนด หากล้ำเส้นมากไปกว่านั้น อำนาจรัฐจะเข้ามาจัดการกับประชาชนที่ไม่ยอมเชื่อฟัง
Sex Worker
อ่าน

จดหมายเปิดผนึก เรื่อง การไม่มีส่วนร่วมของพนักงานบริการซึ่งเป็นผู้มีส่วนได้เสียในการทบทวนกฎหมาย

มูลนิธิเอ็มพาวเวอร์ องค์กรที่ทำงานเพื่อสิทธิพนักงานบริการและความเป็นธรรมทางเพศร่วมกันออกจดหมายเปิดผนึก ถึงกระทรวง พม. กรณีเตรียมแก้พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี ขอให้ฟังความเห็นจากชุมชนพนักงานบริการ และเผยแพร่ข้อมูลอย่างเต็มที่
อ่าน

เครื่องมือตามรัฐธรรมนูญใหม่ รู้ไว้เพื่อใช้ให้เป็นประโยชน์ (กับประชาชน)

แม้ว่า รัฐธรรมนูญ 2560 จะมีปัญหาสารพัดโดยเฉพาะที่มาและการสืบทอดอำนาจของ คสช. แต่อย่างน้อยกลไกหลายข้อที่เขียนไว้ก็เป็นอาวุธทางกฎหมายที่ประชาชนสามารถหยิบยกขึ้นมาใช้เพื่อทวงถามสิทธิเสรีภาพ และเข้าไปมีส่วนร่วมกำหนดอนาคตทางการเมืองได้ หากประชาชนใช้งานได้ถูกช่องทางและถูกจังหวะ
Letter Submission
อ่าน

แถลงการณ์เครือข่ายประชาชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ข้อเสนอต่อการแก้พ.ร.บ.สิ่งแวดล้อมฯ

ขณะที่ภาครัฐกำลังเดินหน้าแก้ พ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2535 ด้านภาคประชาชนก็ห่วง ระบบ EIA ที่เดิมล้มเหลวอยู่จะถูกแก้ให้ถอยหลัง ไม่ก้าวหน้า แถมจะยัดคำสั่งตามมาตรา 44 ที่ให้ประมูลก่อน EIA ผ่าน เข้ามาอยู่ในร่างพ.ร.บ.นี้อีก จึงออกแถลงการณ์คัดค้าน
Fake Public Participation
อ่าน

เมื่อการรับฟังความคิดเห็นเป็นเพียงพิธีกรรมของรัฐ

การจัดเวทีเปิดรับฟังความคิดเห็นประกอบการร่างกฎหมายส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติเป็นตัวอย่างที่สำคัญเกี่ยวกับ 'คุณภาพ' การรับฟังความคิดเห็นที่จัดโดยหน่วยงานรัฐ เนื่องจากการรับฟังดังกล่าวไม่มีตัวแทนประชาชน อีกทั้งไม่มีเวลาในกำหนดการให้ประชาชนเข้าไปแสดงความคิดเห็น ซึ่งนั้นสะท้อนให้เห็นว่า แนวทางที่รัฐบาลกำหนดไว้อาจจะไม่ได้คุณภาพตามมาตรฐานสากล
RIA Statement
อ่าน

ภาคประชาชน เผยรัฐเปิดฟังความเห็นร่างกฎหมายขัดรัฐธรรมนูญ ขู่ฟ้องศาลเพิกถอนมติคณะรัฐมนตรี

30 มิ..ย.2560 เครือข่ายองค์ภาคประชาสังคม ร่วมกันออกแถลงการณ์แสดงความกังวลต่อกระบวนการรับฟังความคิดเห็นและการวิเคราะห์ผลกระทบจากการออกกฎหมาย ตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญ 2560 แถลงการณ์ฉบับนี้รวบรวมและสรุปความคิดเห็นจากนักวิชาการ และภาคประชาชน ที่ศึกษาและได้รับผลกระทบ 
P-move statement on Park Bill
อ่าน

P-move แถลงจุดยืนร่างพ.ร.บ.อุทยานฯ ไม่เอื้อให้ชุมชนแสดงความคิดเห็น

แถลงการณ์ขบวนการประชาชนเพื่อสังคมที่เป็นธรรม และเครือข่ายองค์กรพันธมิตร เรื่องขอให้รัฐบาลชะลอการผลักดันร่าง พ.ร.บ. 4 ฉบับ และเปิดให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญในมาตรา 77
article 77
อ่าน

ขึ้นเว็บไซต์อย่างน้อย 15 วัน ก็ถือว่าเป็นการรับฟังความคิดเห็นตาม รัฐธรรมนูญ ม. 77

คณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติ เรื่อง “แนวทางการจัดทำและเสนอร่างกฎหมายตามบทบัญญัติมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญ 2560 โดยหลักเกณฑ์นี้ให้หน่วยงานรัฐนำไปปฏิบัติก่อนนำเสนอร่างกฎหมายต่อครม.
Constitution Cover
อ่าน

“ม.77” หลังประกาศใช้รธน.ใหม่ เปิดช่องพิจารณากฎหมายต้องรับฟังความคิดเห็นและศึกษาผลกระทบ

เมื่อร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับผ่านประชามติ 2559  ประกาศใช้ขั้นตอนในการออกกฎหมายของ สนช. จะมีการเปลี่ยนแปลงไปเพราะ ในมาตรา 77 วรรคสอง ได้กำหนดให้ "ก่อนการตรากฎหมายทุกฉบับ รัฐพึงจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้อง  วิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมายอย่างรอบด้านและเป็นระบบ รวมทั้งเปิดเผย ผลการรับฟังความคิดเห็นและการวิเคราะห์นั้นต่อประชาชน และนำมาประกอบการพิจารณา ในกระบวนการตรากฎหมายทุกขั้นตอน"