อ่าน

ย้อนดูกฎหมาย-คำสั่งในอดีต ข้อหาที่โทษหนักกว่ามาตรา 112 ก็นิรโทษกรรมมาแล้ว

หากย้อนดูประวัติศาสตร์กฎหมายนิรโทษกรรมในไทย รวมถึงการใช้มาตรการของรัฐในอดีตเพื่อแก้ไขปัญหาความเห็นต่างในสังคม จะพบว่าการนิรโทษกรรมให้กับความผิดที่เกี่ยวกับความมั่นคง หรือแม้กระทั่งความผิดที่มีอัตราโทษสูงกว่า มาตรา 112 ก็ตาม ก็เคยออกกฎหมายมาแล้ว มีการนิรโทษกรรมเกิดขึ้นจริง และมีผู้ที่ได้นิรโทษกรรมจากกฎหมายดังกล่าว ข้อเสนอเพื่อนิรโทษกรรมครอบคลุมความผิดเกี่ยวกับความมั่นคง เช่น มาตรา 112 ไม่ใช่เรื่องแปลกใหม่ในสังคมไทย
52426852524_7549afcfb5_o
อ่าน

จาก 14 ตุลาฯ 16 ถึง 6 ตุลาฯ 19: การเบ่งบานและร่วงโรยของประชาธิปไตยไทย

เหตุการณ์ในวันที่ 14 ตุลาคม 2516 เป็นปรากฏการณ์ทางการเมืองที่สำคัญครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ ไม่ว่าในฐานะ “วันมหาวิปโยค” วันที่มีการปราบปรามประชาชนที่ออกมาประท้วงรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร อย่างรุนแรง แต่ในอีกมุมหนึ่ง เหตุการณ์ 14 ตุลาฯ ก็ถูกจดจำในฐานะ “การปฏิวัติตุลาคม” ที่ฝ่ายผู้ชุมนุมประท้วงรัฐบาลได้รับชัยชนะเหนือฝ่ายเผด็จการทหารจนนำไปสู่การเปลี่ยนตัวรัฐบาลและมีรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
Order 41 2519
อ่าน

โทษในกฎหมาย “หมิ่น” ทั้งระบบ มรดกคณะรัฐประหาร 6ตุลาฯ

คณะรัฐประหารยึดอำนาจในวันที่ 6 ตุลาคม 2519 และออกคำสั่งเปลี่ยนแปลงกฎหมายมากมาย หนึ่งในนั้นได้แก้ไขประมวลกฎหมายอาญาเพิ่มโทษ 12 มาตราที่เกี่ยวกับการ "หมิ่น" เป็นมรดกตกทอดไว้ในกฎหมายไทย เป็นอุปสรรคต่อเสรีภาพการแสดงออก การวิพากษ์วิจารณ์รัฐและสังคมต่อเนื่องมาทุกยุคสมัย
50421712253_fdf326b711_k
อ่าน

ถอดบทเรียน “6 ตุลาฯ” การเติบโตและถดถอยของประชาธิปไตย

แม้จะผ่านมาแล้ว 44 ปี แต่เหตุการณ์ 6 ตุลาฯ ก็มีอีกหลายเรื่องที่ยังต้องทำการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม แต่อย่างน้อยที่สุด ข้อค้นพบเกี่ยวกับเหตุการณ์ 6 ตุลาฯ ในมุมมองของนักวิชาการที่มาร่วมงานเสวนาในหัวข้อ "หา(ย) : อุดมการณ์ – ความทรงจำ – รัฐธรรมนูญ" คือ เหตุการณ์ 6 ตุลาฯ เป็นความพยายามเหนี่ยวรั้งการเปลี่ยนแปลง หรืออีกนัยหนึ่งคือความพยายามตัดตอนระบอบประชาธิปไตยของกลุ่มศักดินาโดยเอาชีวิตของเหล่านิสิตนักศึกษาเป็นเครื่องสังเวย
1412573126-6-o
อ่าน

คดีประวัติศาสตร์ 6 ตุลาคม 2519 : แง่มุมในหลืบประวัติศาสตร์

สิ่งหนึ่งที่ผู้เขียนอยากเสนอในแง่มุมที่อยู่ใน “หลืบประวัติศาสตร์” ของเหตุการณ์นี้ ที่คนร่วมสมัยไม่ได้กล่าวถึงมากนักนั้นคือ คดีประวัติศาสตร์ 6 ตุลาคม 2519  ว่าศาลทหารที่นำมาใช้และมีอำนาจเหนือพลเรือนในยุคนั้นเป็นเช่นไร กลุ่มนักโทษการเมืองที่เรียกตนเองว่า นิสิตนักศึกษาพวกเขาเหล่านั้นคือใคร ข้อเท็จจริงอันเกี่ยวกับการพิจารณาคดีในยุคนั้น รวมถึงเกร็ดประวัติศาสตร์จากการบันทึกของนักโทษหญิงในคดีนี้ และบทเรียนในการใช้ศาลทหารกับสังคมไทยผ่านเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519