มาตรา 44
อ่าน

รวมผลงาน การใช้อำนาจมาตรา 44 ปี 2560

มาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญชั่วคราว 2557 ถูกเปรียบเหมือนอำนาจเผด็จการล้นฟ้า หัวหน้าคสช.ใช้อำนาจตามมาตรา 44 แก้ไขปัญหาและโยกย้ายข้าราชการต่างๆ มากมาย ทั้งเรื่องประมงผิดกฎหมาย สลากกินแบ่งรัฐบาล การสรรหาป.ป.ช. แก้ปัญหาแรงงานต่างด้าว และกระทรวงศึกษาธิการ โดยปี 2560 มีการออกคำสั่งหัวหน้า คสช. ทั้งหมด 54 ฉบับ
อ่าน

รวมผลงาน การใช้อำนาจมาตรา 44 ปี 2559

มาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญชั่วคราว 2557 ถูกเปรียบเหมือนอำนาจเผด็จการล้นฟ้า หัวหน้าคสช.ใช้อำนาจตามมาตรา 44 แก้ไขปัญหาและโยกย้ายข้าราชการต่างๆ มากมาย ทั้งเรื่องประมงผิดกฎหมาย สลากกินแบ่งรัฐบาล การสรรหาป.ป.ช. แก้ปัญหาแรงงานต่างด้าว และกระทรวงศึกษาธิการ โดยปี 2559 มีการออกคำสั่งหัวหน้า คสช. ทั้งหมด 78 ฉบับ
อ่าน

สี่ปีคสช. ภาพรวมการใช้มาตรา 44

ตลอด 4 ปีที่ผ่านมา คสช. ใช้อำนาจมาตรา 44 ออกคำสั่งหัวหน้า คสช. ไปแล้วไม่น้อยกว่า 189 ฉบับแบ่งเป็นปี 2557 1 ฉบับ ปี 2558 47 ฉบับ ปี 2559 78 ฉบับ ปี 2560 54 ฉบับ และปี 2561 ในช่วง 4 เดือนแรก 9 ฉบับ เป็นเรื่องอะไรบ้าง ลองไปดูกัน
อ่าน

คำสั่งหัวหน้า คสช. ที่ 9/2561 วางเงื่อนไข ถ้าไม่เป็นเด็กดี ไม่ให้ไปต่อ !

23 พฤษภาคม 2561 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษาได้เผยแพร่ คำสั่งหัวหน้าคสช. ฉบับที่ 9/2561 เรื่อง มาตรการบรรเทาผลกระทบต่อผู้ประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ เพื่อเป็นการช่วยเหลือผู้ประกอบการทีวีดิจิทัล ที่ไม่สามารถชําระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ได้ทัน ภายในระยะเวลาที่กําหนด แต่คำสั่งหัวหน้า คสช. ฉบับนี้ได้วางเงื่อนไขให้ผู้ประกอบการต้องปฎิบัติตามที่ กสทช. กำหนดจึงจะได้รับการผ่อนผันการชำระค่าธรรมเนียมตามคำสั่งหัวหน้า คสช. ฉบับนี้
001
อ่าน

รอบคอบแค่ไหน! เมื่อประกาศ/คำสั่ง ของ คสช. ต้องแก้คำผิดไปแล้ว 9 ครั้ง แก้เนื้อหาไปแล้ว 24 ครั้ง

ตั้งแต่หลังการรัฐประหาร 2557 ที่ผ่านมา คสช. ต้องแก้ไขคำผิดในคำสั่งที่ออกมาแล้วไม่น้อยกว่า 9 ครั้ง แบ่งเป็น แก้ไขคำสั่ง คสช. 4 ครั้ง และคำสั่งหัวหน้า คสช. 5 ครั้ง วิธีการแก้ไขคำผิดในคำสั่ง คสช. และคำสั่งหัวหน้า คสช. คือ การประกาศในราชกิจจานุเบกษาเพื่อแก้ไขคำผิด โดยไม่ได้ออกเป็นคำสั่งฉบับใหม่ ไม่ได้ผ่านการลงนามของหัวหน้า คสช. ดังนี้
อ่าน

“ยกเว้นความรับผิด-ไม่ให้ขึ้นศาลปกครอง” ลักษณะสำคัญของอำนาจพิเศษตาม คำสั่งหัวหน้า คสช.

คำสั่งหัวหน้า คสช. ที่ออกตามมาตรา 44 อย่างน้อย 4 ฉบับ ยกเว้นความรับผิดให้เจ้าหน้าที่รัฐที่ทำงานตามคำสั่งนั้นๆ ไม่ให้ถูกตรวจสอบโดยศาลปกครอง ไม่ต้องรับผิดทางแพ่ง ทางอาญา และทางวินัย ถ้าได้กระทำไปโดยสุจริต อำนาจลักษณะนี้แทบจะเป็นเรื่องปกติไปแล้วในยุค คสช.
rice field
อ่าน

ม.44 ล้ม คำพิพากษาศาลปกครอง ปลดล๊อกที่ดิน ส.ป.ก. เอื้อธุรกิจพลังงาน

หลายปีที่ผ่านมา กิจการเหมืองแร่ ปิโตรเลียม พลังงานกังหันลม ไม่สามารถทำในที่ดิน ส.ป.ก. ได้เนื่องจากติดคำสั่งศาลปกครองที่ให้ใช้ที่ดิน ส.ป.ก. เพื่อการเกษตรเท่านั้น ทำให้กิจการในหลายพื้นที่ต้องหยุดชะงัก คสช. จึงแก้ไขปัญหาติดขัดเช่นนี้ ด้วยอำนาจพิเศษ ม.44
Migrant Workers
อ่าน

ลัดขั้นตอนรีบออก พ.ร.ก.การทำงานคนต่างด้าวฯ สุดท้ายต้องใช้ม.44 มา “ปะผุ”

กลายเป็นบทเรียนครั้งใหญ่ใหญ่ที่ส่อจะซ้ำเติมปัญหาเศรษฐกิจ เมื่อคณะรัฐมนตรีลัดขั้นตอนออกกฎหมายเป็นพระราชกำหนด มาสร้างระบบควบคุมแรงงานต่างชาติเสียใหม่ เพิ่มโทษผู้ฝ่าฝืนขึ้นหลายเท่า พอแรงงานกลัวหนีกลับบ้านกัน สุดท้ายต้องใช้ ม.44 มาแก้ขัดไปก่อน 
อ่าน

สถานการณ์ปี 2559 5/5: ความเงียบแบบผูกขาด ออกกฎหมายจำนวนมากประชาชนไม่รู้เรื่อง

การออกกฎหมายเป็นหนึ่งในผลงานที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ภาคภูมิใจ ภายในเวลาเพียงสองปีห้าเดือน สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.)ที่คสช.แต่งตั้งสามารถออกพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ไปแล้วอย่างน้อย 207 ฉบับ นอกจากนี้ยังมีการออกกฎหมายโดยใช้อำนาจพิเศษตามมาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญ(ฉบับชั่วคราว) 2557 อีก 122 ฉบับ วิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรีด้านกฎหมาย แถลงเปรียบเทียบว่าในระยะเวลาเจ็ดปีสี่รัฐบาลตั้งแต่ปี 2551-2557 สภาสามารถออกพ.ร.บ.เพียง 120 ฉบับ หรือเฉลี่ยปีละ 17 ฉบับเท่านั้น ซึ่งน้อยกว่าการทำงานเพียงสองปีกว่าของคสช. ตลอดระยะเวลา 29 เดือนของการทำงาน สนช.