สรุปรัฐธรรมนูญ 2560 : รับรองความเป็นอิสระของผู้พิพากษา ไม่ห้ามผู้บังคับบัญชาตรวจสำนวน
อ่าน

สรุปรัฐธรรมนูญ 2560 : รับรองความเป็นอิสระของผู้พิพากษา ไม่ห้ามผู้บังคับบัญชาตรวจสำนวน

เปิดดูรัฐธรรมนูญสามฉบับล่าสุดเปรียบเทียบกัน ก็พบว่า หลักการความเป็นอิสระหลายอย่างถูกทำให้หายไปจากรัฐธรรมนูญ 2560 อย่างชัดเจน
‘โรดแมป 19 เดือน’ อาจถูกขยาย ‘เลือกตั้ง’ อาจต้องเลื่อนยาวถึงปลายปี 2561
อ่าน

‘โรดแมป 19 เดือน’ อาจถูกขยาย ‘เลือกตั้ง’ อาจต้องเลื่อนยาวถึงปลายปี 2561

ขั้นตอนต่างๆ หลังร่างรัฐธรรมนูญผ่านจนไปถึงการเลือกตั้งนั้นอาจใช้เวลาถึง 19 เดือน แต่หลังพล.อ.ประยุทธ์ เปิดเผยว่า ร่างรัฐธรรมนูญยังต้องถูกแก้ไขอีกในหมวดพระมหากษัตริย์ ทำให้ต้องแก้ไขรัฐธรรมนูญชั่วคราว เพื่อเปิดช่องให้แก้ไขร่างรัฐธรรมนูญอีกครั้ง พร้อมทูลเกล้าฯ ให้พระมหากษัตริย์พิจารณาใหม่ และอาจจะใช้เวลาเพิ่มอีก 4 เดือน เท่ากับว่า โรดแมปสู่การเลือกตั้งอาจถูกขยายและการเลือกตั้งอาจเลื่อนไปไกลถึงปลายปี 2561 
ติดตามร่างกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ
อ่าน

ติดตามร่างกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ

ติดตามร่างกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ ทั้งเนื้อหาร่างกฎหมาย สรุปร่างกฎหมาย และสถานะกฎหมายล่าสุด
4 แนวทาง กรธ.เตรียมแก้ร่างรัฐธรรมนูญให้ ส.ว.เลือกนายกฯ
อ่าน

4 แนวทาง กรธ.เตรียมแก้ร่างรัฐธรรมนูญให้ ส.ว.เลือกนายกฯ

เมื่อร่างรัฐธรรมนูญและคำถามพ่วงที่ให้ ส.ว.สามารถเลือกนายกฯ ผ่านการออกเสียงประชามติ ส่งผลให้ กรธ.ต้องแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญให้สอดคล้องกับคำถามพ่วง ซึ่งขนาดนี้มีการพูดถึงแนวทางการแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญถึงสี่แนวทาง
ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: ประชามติ 7 สิงหา ไม่อาจใช้อ้างความชอบธรรมให้ร่างรัฐธรรมนูญ
อ่าน

ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: ประชามติ 7 สิงหา ไม่อาจใช้อ้างความชอบธรรมให้ร่างรัฐธรรมนูญ

เสียงส่วนใหญ่ของผู้มาใช้สิทธิลงประชามติ เมื่อ 7 สิงหาคม 2559 เห็นชอบทั้งร่างรัฐธรรมนูญและคำถามพ่วง ซึ่งต้องเคารพทุกเสียงที่มาลงคะแนน แต่ข้อมูลชี้ให้เห็นปัญหา 10 ข้อ ตลอดการทำประชามติ ทำให้ทั้งกระบวนการและผลลัพธ์ไม่อาจใช้อ้างเป็นความชอบธรรมให้เนื้อหาของร่างรัฐธรรมนูญ และการบังคับใช้หลังจากนี้ได้
#ส่องประชามติ: กกต.แจกเพียงข้อดีร่างรัฐธรรมนูญ ประชาสัมพันธ์นอกเขตฯ ไม่ทั่วถึง
อ่าน

#ส่องประชามติ: กกต.แจกเพียงข้อดีร่างรัฐธรรมนูญ ประชาสัมพันธ์นอกเขตฯ ไม่ทั่วถึง

แม้ว่า กกต.จะมีแนวทางการประชาสัมพันธ์หลากหลายรูปแบบ แต่จากการรวบรวมข้อมูลยังพบข้อบกพร่องบางประการที่ส่งผลให้ประชาชนจำนวนมากต้องตกขบวนรถไฟประชามติครั้งนี้
#ส่องประชามติ: ดูข้อความเท็จในเอกสารเผยแพร่ร่างรัฐธรรมนูญของภาครัฐ
อ่าน

#ส่องประชามติ: ดูข้อความเท็จในเอกสารเผยแพร่ร่างรัฐธรรมนูญของภาครัฐ

ก่อนลงประชามติ กรธ. และ กกต. ต่างเร่งทำสรุปสาระสำคัญร่างรัฐธรรมนูญ ส่งให้ประชาชน แต่เอกสารต่างๆ กลับเน้นบอกเฉพาะข้อดีและตอบโต้จุดอ่อนที่กำลังถูกวิพากษ์วิจารณ์ ไม่ได้บอกสาระสำคัญที่ควรรู้ทั้งหมด บางส่วนมีการตีความเพิ่มเติมจากผู้จัดทำ บางส่วนเป็นข้อความเท็จ ส่งผลเสียต่อความชอบธรรมของกระบวนการประชามติ
#ส่องประชามติ: เมื่อการอำนวยความสะดวกของรัฐไปไม่ถึงคนทุกกลุ่ม
อ่าน

#ส่องประชามติ: เมื่อการอำนวยความสะดวกของรัฐไปไม่ถึงคนทุกกลุ่ม

ปฏิเสธไม่ได้ว่า ในการออกเสียงประชามติวันที่ 7 สิงหาคม 2559 ที่มีผู้มาใช้สิทธิจำนวน 27,623,126 คน จากจำนวนทั้งหมด 50,585,118 คนนั้น มีคนจำนวนหนึ่งที่เข้าไม่ถึงการอำนวยความสะดวกของรัฐ ไม่ว่าจะเป็นการขอใช้สิทธิลงประชามตินอกเขต หรือการเข้าถึงเอกสารเนื้อหาเกี่ยวกับร่างรัฐธรรมนูญ โดยเฉพาะกลุ่มคนพิการ ผู้สูงอายุ กลุ่มชาติพันธุ์ลัวะ ปกาเกอะญอ และกลุ่มคนมลายู จังหวัดยะลา เป็นต้น
ไม่ใช่แค่นักการเมือง…ที่ไม่รับร่างรัฐธรรมนูญ
อ่าน

ไม่ใช่แค่นักการเมือง…ที่ไม่รับร่างรัฐธรรมนูญ

ก่อนการลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ มีวาทกรรมที่หลายคนเชื่อกันว่า "เมื่อนักการเมืองประกาศไม่รับร่างรัฐธรรมนูญ" แสดงว่าร่างนี้ต้องดีแน่ ประชาชนต้องไปลงคะแนน "รับ" แต่จริงๆ ไม่ใช่มีแค่นักการเมืองที่ "ไม่รับ" มีผู้คนและองค์กรอีกมากมายเลย
iLaw ไม่รับร่างรัฐธรรมนูญ ด้วยความหวังเพื่อวันที่ดีกว่า
อ่าน

iLaw ไม่รับร่างรัฐธรรมนูญ ด้วยความหวังเพื่อวันที่ดีกว่า

หากร่างรัฐธรรมนูญผ่านการทำประชามติจะมีผลกับคนทั้งประเทศรวมถึงคนรุ่นหลังที่ไม่มีโอกาสร่วมตัดสินใจในวันนี้ด้วย โดยประเด็นที่ยังเป็นปัญหาจะแทบไม่มีโอกาสแก้ไขได้ กติกาที่ออกแบบมาเพื่อตอบสนองความต้องการเฉพาะหน้าเช่นนี้มีแต่จะนำไปสู่ความขัดแย้ง การทุจริตและความขัดแย้งทางการเมืองจะยังมีอยู่ต่อไปและมีแต่แนวโน้มจะรุนแรงมากยิ่งขึ้น