52320453868_d70a56f3c9_h
อ่าน

ศาลบันทึกคำเบิกความด้วยวิดีโอ ในคดีม.116 ของทิวากร ทนายชี้ทำให้รวดเร็วและบันทึกครบถ้วน

ระหว่างวันที่ 23 – 26 สิงหาคม 2565 ศาลจังหวัดลำปางนัดสืบพยานโจทก์-จำเลยในคดีฐานยุยงปลุกปั่นตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 116 ของ ทิวากร ชาวจังหวัดขอนแก่นที่ถูกประชาชนชาวจังหวัดลำปางร้องทุกข์กล่าวโทษให้ตำรวจลำปางดำเนินคดี จากกรณีที่เขาเปิดแคมเปญบนเว็บไซต์ change.org  เชิญชวนให้คนที่ต้องการให้มีการจัดการออกเสียงประชามติว่าจะคงไว้หรือยกเลิกสถาบันพระมหากษัตริย์มาร่วมลงชื่อ  ความน่าสนใจของคดีนี้อยู่ที่กระบวนการพิจารณาคดีนี้ไม่ได้เป็นการพิจารณาตามปกติ ที่ผู้พิพากษาจะทำหน้าที่คอยสรุปคำเบิกความของพยานด้วยเครื่องบันทึกเสียงของศาลเพื่อให้เจ้าหน้าที่หน้าบัลล
อ่าน

iLaw รวม 10 เรื่องเด่น ประจำปี 2558

ปี 2558 มีเรื่องราวมากมายเกิดขึ้นภายใต้การปกครองของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) จากการติดตามประเด็นเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน การจับกุมและดำเนินคดีทางการเมือง และการมีส่วนร่วมของประชาชนในการออกกฎหมายและออกนโยบาย ใกล้สิ้นปีไอลอว์จึงขอหยิบเรื่องราว 10 เรื่องที่ถือว่าโดดเด่นและน่าจดจำที่สุด ในสายตาและการทำงานของเราตลอดหนึ่งปีที่ผ่านมา ให้ได้หวนระลึกกันอีกครั้ง
Committee Comparison
อ่าน

ใครร่างนั้นสำคัญไฉน?: เปรียบเทียบคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญสามชุดในรอบ 20 ปี

ประวัติศาสตร์ฉบับย่อ เกี่ยวกับคณะกรรมาธิการร่างรัฐธรรมนูญ 3 ชุด และการร่างรัฐธรรมนูญในรอบ 20 ปี น่าจะช่วยเราตอบคำถามว่า ผู้ร่างรัฐธรรมนูญที่พึงปรารถนาควรมีที่มาอย่างไร? ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลแบบใด? และเราจะยังวนเวียนอยู่กับนักร่างรัฐธรรมนูญหน้าเก่าต่อไปอีกหรือ?
Likit Teeravekin
อ่าน

“นักวิชาการ” ซัดร่างรัฐธรรมนูญเป็นประชาธิปไตยแค่เสี้ยวใบ “คปป.” ไม่มีที่อยู่ในประชาธิปไตย ชี้ “กองทัพ ตำรวจ ศาลรธน.” หลุดพ้นการตรวจสอบ

ศูนย์ศึกษาการพัฒนาสังคมร่วมกับหลายองค์กร จัดงานเสวนา "วิเคราะห์ร่างรัฐธรรมนูญ  2558 กับทิศทางการปฏิรูปการเมืองไทย: ทางออกหรือทางตัน" ท่ามกลางบรรยากาศที่สปช.กำลังจะลงมติว่าจะเห็นชอบกับร่างนี้หรือไม่ในวันที่ 6 กันยายน 2558 
coup cartoon ep2
อ่าน

ความเห็นศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนต่อร่างรัฐธรรมนูญ: ตอนที่2 ความบกพร่องทางเนื้อหาของร่างรธน.

การทำรัฐประหารเป็นสิ่งที่ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญและระบอบประชาธิปไตย และขั้นตอนการยกร่างรัฐธรรมนูญไม่มีความชอบธรรม เนื่องจากองค์กรที่เข้ามามีส่วนร่วมในการยกร่าง ไม่มีองค์กรใดที่มีจุดเชื่อมโยงกับประชาชน รวมถึงขั้นตอนการลงประชามติยังขัดหลักการลงคะแนนเสียงโดยเสรี
coup cartoon
อ่าน

ความเห็นศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนต่อร่างรัฐธรรมนูญ: ตอนที่ 1 ที่มาและขั้นตอนการยกร่างรัฐธรรมนูญ

ปัจจุบันความเคลื่อนไหวของร่างรัฐธรรมนูญฉบับถาวรดำเนินถึงขั้นตอนที่ยกร่างรัฐธรรมนูญรายมาตราทั้งฉบับเสร็จสิ้นแล้วและนำร่างรัฐธรรมนูญดังกล่าวเสนอต่อสภาปฏิรูปแห่งชาติ ณ ช่วงเวลานี้เนื้อหาของร่างรัฐธรรมนูญได้ปรากฏต่อสาธารณชนอย่างเป็นทางการ  โดยศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนมีความเห็นต่อความไม่ชอบธรรมทางประชาธิปไตยและความบกพร่องทางเนื้อหาของร่างรัฐธรรมนูญ 4 ประการ 
อ่าน

มาตรา183 กลับไม่ได้ ไปไม่ถึง

ก่อนที่สภาปฏิรูปแห่งชาติจะลงมติรับหรือไม่รับร่างรัฐธรรมนูญ กลุ่มศึกษาข้อตกลงเขตการค้าเสรีภาคประชาชน (เอฟทีเอ ว็อทช์) มีข้อสังเกตและไม่เห็นด้วยต่อมาตรา 183 ว่าด้วยการทำหนังสือสัญญาระหว่างประเทศ เพราะเห็นว่าไม่อาจสร้างกระบวนการตรวจสอบถ่วงดุล การมีส่วนร่วม ระหว่างฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติ และภาคประชาสังคม ซึ่งเป็นหลักการสำคัญข้อหนึ่งในระบอบการเมืองประชาธิปไตย
constitutional court
อ่าน

ร่างรัฐธรรมนูญ’ 58 : อำนาจสูงสุดอยู่ที่ศาลรัฐธรรมนูญ

ศาลรัฐธรรมนูญ เกิดขึ้นครั้งแรกตั้งแต่รัฐธรรมนูญ 2540 ต่อเนื่องเรื่อยมาในรัฐธรรมนูญ 2550 บทบาทของศาลรัฐธรรมนูญโดดเด่นขึ้นมาจากการตัดสินคดีสำคัญๆ ที่มีผลเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ส่งผลต่อความเป็นไปของประเทศไทย ซึงร่างรัฐธรรมนูญ 2558 ศาลรัฐธรรมนูญก็ยังคงอำนาจนำต่อไป 
Mix Member Proportional (MMP-Thai)
อ่าน

ระบบเลือกตั้งผสมแบบไทย-เยอรมัน ตามร่างรัฐธรรมนูญ 2558

การเลือกตั้ง ส.ส.เป็นหัวใจสำคัญของการเข้าสู่อำนาจทางการเมือง ระบบเลือกตั้ง ส.ส.จะถูกเปลี่ยนแปลงทุกครั้งตามการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง การรัฐประหาร 2557 เป็นอีกครั้งหนึ่งโดยคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญนำระบบสัดส่วนแบบผสม หรือ MMP มาใช้ ชวนทำความเข้าใจระบบนี้