อ่าน

“อำนาจบุกวัดพระธรรมกาย ตามคำสั่ง 5/2560 เปรียบเทียบกับ คำสั่ง 3/2558 และ กฎอัยการศึก”

ประกาศคำสั่ง คสช. ในการบุกวัดธรรมกายมีลักษณะคล้ายกฎอัยการศึก ที่อาจกระทบสิทธิเสรีภาพประชาชน และน่ากังวลว่าในอนาคตอาจจะใช้อำนาจนี้ในการบังคับใช้กับพื้นที่อื่นได้ต่อไป
อ่าน

รัฐธรรมนูญ(ชั่วคราว)’57 สองปีแก้สี่ครั้ง

ระยะเวลาประมาณ 2 ปี 5 เดือน รัฐธรรมนูญชั่วคราว พ.ศ. 2557 ของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ถูกแก้ไขเพิ่มเติมไปแล้วทั้งสิ้น 4 ครั้ง ทุกครั้งใช้เวลาเพียงวันเดียวในการให้ความเห็นชอบ เมื่อเทียบกับรัฐธรรมนูญถาวรเรียกว่า แก้ได้ง่ายกว่ามาก และเมื่อเทียบกับรัฐธรรมนูญชั่วคราวด้วยกันยังไม่มีข้อมูลว่า ในอดีตเคยมีฉบับไหนมีการแก้ไขเพิ่มเติมบ้าง
13615214_1722486337990805_171198849679857284_n
อ่าน

รายงาน: พ.ร.บ.ประชามติฯ กับความไม่เป็นธรรมที่ยังไร้คนรับผิด(ชอบ)

พ.ร.บ.ประชามติฯ เป็นอีกหนึ่งกฎหมายที่สร้างปัญหาความไม่เป็นธรรมในสังคมไทยขึ้นในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมา และน่าเสียดายยิ่งไปกว่านั้นคือ เราอาจไม่มีบทลงโทษเพื่อเป็นบทเรียนให้กับผู้ออกกฎหมายและผู้บังคับใช้ซึ่งเป็นต้นเหตุของปัญหา
amendment interim constitution
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญชั่วคราว: ประชามตินับเสียงเห็นชอบ/ไม่เห็นชอบ เท่านั้น

ร่างรัฐธรรมนูญ(ชั่วคราว) 2557 ฉบับที่สอง มีการแก้ไขในห้าประเด็นเพื่อทำให้กระบวนการออกเสียงประชามติมีความชัดเจนขึ้น เช่น การแก้ไขประเด็นการนับเสียงข้างมากในการอออกเสียงประชามติ ฯลฯ  ขณะที่ถ้าประชามติไม่ผ่านจะทำอย่างไรนั้นยังไม่มีการแก้ไขเพิ่มเติม
coup cartoon
อ่าน

ความเห็นศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนต่อร่างรัฐธรรมนูญ: ตอนที่ 1 ที่มาและขั้นตอนการยกร่างรัฐธรรมนูญ

ปัจจุบันความเคลื่อนไหวของร่างรัฐธรรมนูญฉบับถาวรดำเนินถึงขั้นตอนที่ยกร่างรัฐธรรมนูญรายมาตราทั้งฉบับเสร็จสิ้นแล้วและนำร่างรัฐธรรมนูญดังกล่าวเสนอต่อสภาปฏิรูปแห่งชาติ ณ ช่วงเวลานี้เนื้อหาของร่างรัฐธรรมนูญได้ปรากฏต่อสาธารณชนอย่างเป็นทางการ  โดยศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนมีความเห็นต่อความไม่ชอบธรรมทางประชาธิปไตยและความบกพร่องทางเนื้อหาของร่างรัฐธรรมนูญ 4 ประการ