Bankruptcy bill
อ่าน

เข้าถึงง่าย-สะดวกลูกหนี้ เปรียบเทียบข้อเสนอ “ฟื้นฟูสภาวะทางการเงิน” กับกลไกล้มละลาย

ส.ส.พรรคก้าวไกล เสนอแก้กฎหมายล้มละลาย เพิ่มช่องทางให้ลูกหนี้บุคคลธรรมดาสามารถ “ฟื้นฟูสภาวะทางการเงิน” ได้โดยไม่ต้องมีการฟ้องล้มละลายกันทุกกรณี สร้างภาระแก่ลูกหนี้น้อยกว่าการฟ้องล้มละลาย เปิดโอกาสให้ลูกหนี้บริหารจัดการทรัพย์สินของตนเพื่อชำระหนี้คืนเจ้าหนี้ 
change.org campaign
อ่าน

ร่วมลงชื่อ สนับสนุนแก้กฎหมาย เปิดช่อง “ฟื้นฟูสภาวะทางการเงิน” ช่วยลูกหนี้บุคคลธรรมดา ไม่ต้องรอฟ้องล้มละลาย

ร่วมลงชื่อ สนับสนุนแก้กฎหมาย เปิดช่อง “ฟื้นฟูสภาวะทางการเงิน” ช่วยลูกหนี้บุคคลธรรมดา ไม่ต้องรอฟ้องล้มละลาย
Bankruptcy bill
อ่าน

ข้อเสนอเพิ่มช่องทางลูกหนี้ “ฟื้นฟูสภาวะทางการเงิน” ไม่ต้องถูกฟ้องล้มละลาย

ครม.และส.ส.พรรคก้าวไกล ได้เสนอแก้ไขพ.ร.บ.ล้มละลาย หลายประเด็น เช่น  แก้ไขหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการฟื้นฟูกิจการ SMEs ส่วนที่แตกต่างเป็นกลไกใหม่ในร่างฉบับที่เสนอโดยส.ส.พรรคก้าวไกล คือ กลไกที่เปิดให้ลูกหนี้ "บุคคลธรรมดา" ขอเข้าสู่กระบวนการ "ฟื้นฟูสภาวะการเงิน" ได้ 
discrimination against foreign migrant workers
อ่าน

หนึ่งปียังไม่ได้เยียวยา เดินหน้าฟ้องศาลปกครอง เหตุ “ม.33 เรารักกัน” กำหนดเงื่อนไขกีดกันแรงงานข้ามชาติ

ภายหลังมีความพยายามยื่นเรื่องร้องเรียนไปยังหลากหลายหน่วยงานในปี 2564 เมื่อวันที่ 27 พ.ค. 65 กลุ่มผู้ใช้แรงงานข้ามชาติ พร้อมด้วยมูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา (มสพ.) เดินทางมาที่ศาลปกครองเพื่อยื่นฟ้ององค์กรภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดเงื่อนไขโครงการ #ม33เรารักกัน ไว้เฉพาะ “ผู้มีสัญชาติไทย” ส่งผลให้แรงงานข้ามชาติไม่ได้สิทธิรับเงินเยียวยา แม้จ่ายเงินเข้าระบบในอัตราเดียวกับคนไทย
New Zealand Covid-19 measures
อ่าน

โควิด-19 ในต่างประเทศ : นิวซีแลนด์ตั้งเป้าฉีดวัคซีน 90% ก่อนคลายมาตรการรับมือโควิด-19

นิวซีแลนด์เป็นหนึ่งในไม่กี่ประเทศทั่วโลกที่มีอัตราการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ต่อจำนวนประชากรในระดับที่ค่อนข้างต่ำ แม้นิวซีแลนด์จะไม่มีมาตรการเคอร์ฟิว ห้ามออกนอกจากเคหสถานในยามวิกาล แต่ก็ใช้ "ระบบเตือนภัยสี่ระดับ" เลือกใช้มาตรการได้ตามความรุนแรงของสถานการณ์
curfew in france
อ่าน

ส่องประเทศเคยเคอร์ฟิว : ฝรั่งเศส ยกเลิกเคอร์ฟิว เดินหน้าฉีดวัคซีนเด็ก 12 ปีขึ้นไป

ฝรั่งเศส เป็นอีกหนึ่งประเทศที่มีจำนวนผู้ติดเชื้อโควิด-19 เป็นอันดับต้นๆ ของโลก ใช้มาตรการล็อคดาวน์เพื่อสู้กับโควิด-19 ถึงสามครั้ง และใช้มาตรการ "เคอร์ฟิว" ห้ามออกจากบ้านในยามวิกาลเป็นระยะๆ แต่ยกเลิกเคอร์ฟิวไปแล้วเมื่อ 20 มิถุนายน 2564 
Fake news Covid-19
อ่าน

รัฐปราบ “ข่าวปลอม” เหตุล้มเหลวปราบโควิด-19 ฉวยกฎหมายปิดปากผู้เห็นต่างดึงความนิยม

องค์กรวิชาชีพสื่อจัดเสวนาหัวข้อ “หยุดอ้างข่าวปลอม หยุด พ.ร.ก.ฉุกเฉินคุกคามเสรีภาพสื่อ-ประชาชน” ประเด็นสืบเนื่องจากข้อกำหนดนายกรัฐมนตรีฉบับที่ 27 ข้อ 11 เรื่อง ข้อห้ามนำเสนอข่าวสารที่ทำให้ประชาชนเกิดความหวาดกลัว หรือบิดเบือนให้เข้าใจผิดในสถานการณ์ฉุกเฉินฯ 
Issued under Section 9 of the Emergency Decree
อ่าน

เปิดการ์ด ‘เหตุผลยอดฮิต’ ขยายต่อ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน

หลังจากที่ประชุมครม.มีมติเห็นชอบให้ขยายระยะเวลาการบังคับใช้พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ที่ครบกำหนดในวันที่ 31 ก.ค. 2565 นี้ออกไปอีกสองเดือน (1 ส.ค. 2565 – 30 ก.ย. 2565) ส่งผลให้การขยาย พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ครั้งนี้ นับเป็น ‘ครั้งที่ 19’ ตั้งแต่ประกาศใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ฉบับแรกเมื่อวันที่ 25 มี.ค. 2563
51305651532_9ca668816b_o
อ่าน

ตรวจการบ้าน ศบค.: หนึ่งปีผ่านไป ประเทศไทยยังอยู่กับการล็อกดาวน์

ทุกการระบาดใหญ่ตั้งแต่ระลอกแรกไปจนถึงการระบาดใหญ่ในช่วงปลายเดือนมิถุนายน 2564 ที่ผ่านมา รัฐไทยยังคงหวังใช้มาตรการควบคุมทางสังคม เช่น "การล็อคดาวน์" เป็นกลไกหลัก ทั้งที่ หัวใจสำคัญ คือ มาตรการทางสาธารณสุข ไม่ว่าจะเป็นการตรวจเชิงรุก การติดตามผู้ป่วย ไปจนการฉีดวัคซีน แต่รัฐไทยก็กลับละเลย
the Centre for COVID-19 Situation Administration (CCSA)
อ่าน

‘ศบค.’ คืออะไร? เปิดโครงสร้าง และรายชื่อบุคคลเบื้องหลัง

เปิดที่มาโครงสร้าง และรายชื่อบุคคลเบื้องหลังศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) อันมีพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นผู้อำนวยการศูนย์