52520212464_4d83d33c43_b
อ่าน

เปรียบเทียบร่างนิรโทษกรรมจาก 14 ตุลาสู่การชุมนุมเยาวชน’63

ชวนดูเปรียบเทียบร่างพ.ร.บ.นิรโทษกรรมประชาชน ที่เสนอในปี 2566 ซึ่งมุ่งหมายจะให้ครอบคลุมการดำเนินคดีความทางการเมืองต่อประชาชนที่ยืดเยื้อยาวมาตั้งแต่ปี 2549 กับกฎหมายนิรโทษกรรมผู้ชุมนุมทางการเมืองสามฉบับในอดีต
52426852524_7549afcfb5_o
อ่าน

จาก 14 ตุลาฯ 16 ถึง 6 ตุลาฯ 19: การเบ่งบานและร่วงโรยของประชาธิปไตยไทย

เหตุการณ์ในวันที่ 14 ตุลาคม 2516 เป็นปรากฏการณ์ทางการเมืองที่สำคัญครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ ไม่ว่าในฐานะ “วันมหาวิปโยค” วันที่มีการปราบปรามประชาชนที่ออกมาประท้วงรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร อย่างรุนแรง แต่ในอีกมุมหนึ่ง เหตุการณ์ 14 ตุลาฯ ก็ถูกจดจำในฐานะ “การปฏิวัติตุลาคม” ที่ฝ่ายผู้ชุมนุมประท้วงรัฐบาลได้รับชัยชนะเหนือฝ่ายเผด็จการทหารจนนำไปสู่การเปลี่ยนตัวรัฐบาลและมีรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
50421712253_fdf326b711_k
อ่าน

ถอดบทเรียน “6 ตุลาฯ” การเติบโตและถดถอยของประชาธิปไตย

แม้จะผ่านมาแล้ว 44 ปี แต่เหตุการณ์ 6 ตุลาฯ ก็มีอีกหลายเรื่องที่ยังต้องทำการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม แต่อย่างน้อยที่สุด ข้อค้นพบเกี่ยวกับเหตุการณ์ 6 ตุลาฯ ในมุมมองของนักวิชาการที่มาร่วมงานเสวนาในหัวข้อ "หา(ย) : อุดมการณ์ – ความทรงจำ – รัฐธรรมนูญ" คือ เหตุการณ์ 6 ตุลาฯ เป็นความพยายามเหนี่ยวรั้งการเปลี่ยนแปลง หรืออีกนัยหนึ่งคือความพยายามตัดตอนระบอบประชาธิปไตยของกลุ่มศักดินาโดยเอาชีวิตของเหล่านิสิตนักศึกษาเป็นเครื่องสังเวย