52503365272_1a90fb845a_o (1)
อ่าน

สายน้ำ: คดีเยาวชนต้องถูกปฏิบัติอย่างเป็นธรรมและเปิดเผยการพิจารณาได้

ภายหลัง “มาตรา 112” ถูกรัฐบาลนำกลับมาใช้ดำเนินคดีกับประชาชนอีกครั้งเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2563 สถิติของศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนระบุว่า ในจำนวนมากกว่า 200 คดี มี 20 คดีที่ผู้ถูกดำเนินคดียังเป็นเยาวชน รวมทั้งหมด 17 คน (ข้อมูลล่าสุดเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2565) นี่เป็น “ครั้งแรก” ในประวัติศาสตร์ไทย ที่มีการนำกฎหมายมาตราดังกล่าว ซึ่งมีโทษสูงสุดถึง 15 ปี มาบังคับใช้กับเด็กอายุไม่เกิน 18 ปี สายน้ำ (สงวนชื่อและนามสกุลจริง) อดีตนักเรียนมัธยมปลาย เป็นหนึ่งในเยาวชน
52361992415_2dbe3471da_k
อ่าน

เพชร ธนกร : ในขั้นตอนของคดีเยาวชนที่มีแต่สร้างภาระเพิ่ม

ภาพนักเรียนมัธยมผูกโบขาวชูสามนิ้วระหว่างเคารพธงชาติที่ถูกเผยแพร่ในช่วงปี 2563 คือหลักฐานยืนยันว่า กระแสความตื่นตัวทางการเมืองในช่วงเวลานั้นเกิดขึ้นในหมู่เยาวชนคนรุ่นใหม่ หลายคนอายุยังไม่ถึง 18 ปี แต่มีบทบาทสำคัญที่ไม่เพียงไปเข้าร่วมการชุมนุมเท่านั้น แต่ยังขึ้นเวทีปราศรัยสลับกับรุ่นพี่ๆ ด้วย หลายคนพูดถึงปัญหาที่เขาพบเจอในชีวิตประจำวัน เช่น ระบบการศึกษาที่ล้าหลัง หรือระบบอำนาจนิยมในโรงเรียนที่สะท้อนผ่านเครื่องแบบ พิธีกรรม และทรงผมมาบอกเล่าให้ผู้ร่วมชุมนุมฟัง และต่อมาเยาวชนหลายคนก็แสดงออกถึงข้อเรียกร้องเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์อย่าง “ตรงไปตรงมา”  และเมื่อม
51829978506_da37c76bbd_w
อ่าน

ชูเกียรติ ‘Justin Thailand’: การต่อสู้เพื่อความเปลี่ยนแปลงคือภารกิจร่วมของสังคม

ย่ำรุ่งวันที่ 20 กันยายน 2563 ผู้ชุมนุมที่สนามหลวงเตรียมทำพิธีปักหมุดคณะราษฎร 63 ในบรรดานักกิจกรรมที่ยืนล้อมหมุดอยู่บนเวที มีชายสวมแว่นในชุดเสื้อกล้ามเอวลอยสีขาว นุ่งกางเกงวอร์มสีแดงรวมอยู่ด้วย ชายคนดังกล่าวเป็นที่รู้จักในหมู่ผู้ชุมนุมว่า “จัสติน” จากการที่เขามักมาร่วมชุมนุมในชุดเสื้อเอวลอยกางเกงวอร์ม แบบเดียวกับที่จัสติน บีเบอร์ ศิลปินชาวแคนาดาสวมในภาพถ่ายที่ถูกแชร์กันแพร่หลายในโลกออนไลน์  ชูเกียรติซึ่งมีชื่อเล่นจริงๆ ว่านุ๊ก เป็นชาวสมุทรปราการ เขาไม่ได้เป็นคนที่มีพื้นฐานเป็นนักกิจกรรมหรือเคยเคลื่อนไหวทางการเมืองมาก่อนในสมัยเรียนมหาวิทยาลัย ปัญหาเศรษฐกิจแล
51325786464_a3cb69bd94_w
อ่าน

บิ๊ก เกียรติชัย: สังคมที่อำนาจเท่าเทียมคือฝันอันสูงสุด

“เรียนศาลที่เท่าเทียม…” ชายหนุ่มในชุดเสื้อวอร์มสีเทาลุกขึ้นพูดกับศาลด้วยข้อความที่ไม่คุ้นหู ต่างจากที่คนทั่วไปมักกล่าวว่า ‘ศาลที่เคารพ’ เกียรติชัยหรือ “บิ๊ก” นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสมาชิกแนวร่วมธรรมศาสตร์และการชุมนุมปรากฎตัวที่ศาลหลังกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมขอให้ศาลสั่งให้ลบภาพและข้อความบนทวิตเตอร์ที่เขาวิจารณ์การแต่งตัวของพระมหากษัตริย์ แม้การปรากฏตัวต่อศาลจะเพิ่มความเ
lomyong
อ่าน

อยากทำการศึกษาในระบบให้เป็นทางเลือกหนึ่ง

ประเด็นความตกต่ำของการศึกษาไทยเป็นที่ถกเถียงซ้ำแล้วซ้ำเล่า iLaw สนทนากับ ลำยอง เตียสกุล และ จิรพันธ์ สำเริงเรือง สองสาวใจดีจากเครือข่ายการศึกษาเพื่อเด็ก  งานนี้ทั้งสองจะสะท้อนมุมมองของภาคประชาชนต่อปัญหาการศึกษาและทางเลือกทางการศึกษาของประเทศไทย