saithong
อ่าน

ไล่เรียงข้อเท็จจริง กรณีปัญหาอุทยานแห่งชาติไทรทองทับที่ดินของชาวบ้าน

เกษตรกรหลายครัวเรือนเข้าบุกเบิกพื้นที่ตั้งแต่ช่วงปี 2500-2520 จนกลายเป็นหมู่บ้าน ปี 2535 มีการประกาศเขตอุทยานแห่งชาติไทรทองรวมเอาพื้นที่ทำเกษตรและที่อยู่อาศัยของชาวบ้านเข้าไปด้วย ชาวบ้านเรียกร้องให้มีการแก้ไขปัญหาระดับนโยบายแต่ยังไม่คืบหน้า ชาวบ้านอย่างน้อย 14 คนถูกดำเนินคดี และถูกจำคุกในข้อหา "บุกรุกป่า"
คุยกับ “ไพฑูรย์ สร้อยสด” ผู้ได้รับผลกระทบจากคำสั่งคสช.
อ่าน

คุยกับ “ไพฑูรย์ สร้อยสด” ผู้ได้รับผลกระทบจากคำสั่งคสช.ที่ให้อำนาจทหารเข้ามามีบทบาทในการ “ทวงคืนผืนป่า”

ปัญหาเรื่องป่าไม้ เกี่ยวกับการรุกล้ำที่ดินในประเทศไทยมีความยืดเยื้อมายาวนาน ซึ่งเป็นผลกระทบมาจากนโยบายของรัฐในแต่ละช่วง ในยุคที่ประเทศอยู่ภายใต้การปกครองของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ(คสช.) นโยบาย "ทวงคืนผืนป่า” ส่งผลให้ชาวบ้านที่อาศัยในเขตป่าได้รับความเดือดร้อนและต้องอพยพออกจากพื้นที่ที่เคยอยู่อาศัยมาก่อนหน้านี้ 
forestation
อ่าน

สี่ปี คำสั่ง คสช. “ทวงคืนผืนป่า” ล้มเหลวเรื่องการเพิ่มพื้นที่ป่า ทำชาวบ้านเดือดร้อน

คำสั่ง คสช. ที่ 64/2557 และ 66/2557 ให้อำนาจทหารเข้าทวงคืนผืนป่า ใช้มาครบสี่ปีแล้ว เครือข่ายประชาชนถอดบทเรียน พบผลกระทบชาวบ้านถูกไล่ออกจากที่ดิน ถูกจับกุมดำเนินคดีอย่างมาก ผ่านมาสี่ปีปัญหายังไม่จบแต่ก็ทวงคืนผืนป่าไม่ได้ตามเป้า จึงเป็นนโยบายที่ล้มเหลว
อ่าน

ชีวิตของคนชุมชนเพิ่มทรัพย์พัฒนา “มันใช้ชีวิตปกติไม่ได้แล้วตอนนี้”

ชุมชนเพิ่มทรัพย์พัฒนา ตั้งอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติในจังหวัดสุราษฎร์ธานี หลังรัฐประหาร 2557 ชาวชุมชนต้องต่อสู้แย่งพื้นที่ทำกินกับนายทุน โดยการต่อสู้ที่กำลังดำเนินอยู่ชาวบ้านสงสัยว่าเจ้าหน้าที่รัฐในพื้นที่อาจร่วมมือกับนายทุนเพื่อขับไล่พวกเขา
อ่าน

แทนเสียงคนเดือนร้อน เมื่อรัฐ “ขอคืนพื้นที่ป่า” ของชุมชน

"โนนดินแดง" เป็นพื้นที่หนึ่งที่ได้รับผลกระทบหลังจาก ประกาศคำสั่ง คสช. ฉบับที่ 64/2557 และ 66/2557 หรือ "แผนแม่บทป่าไม้" ทำให้ชาวบ้านมากมายถูกไล่ทีและไม่มีที่ทำกิน ลองฟังเสียงและเรื่องราวของชาวบ้านอีกครั้ง ว่าปัญหาในพื้นที่เป็นอย่างไร