287938576_10166675234785551_5512330685017558630_n
อ่าน

อัษฎา : จากการตรวจสอบทุจริตสู่พลเมืองตื่นรู้

อัษฎา งามศรีขำ หรือ “ป้าอัษ” อายุ 56 ปีเป็นหนึ่งใน 11 จำเลยคดีคาร์ม็อบหาดใหญ่เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2564 การชุมนุมวันดังกล่าวมีเป้าหมายหลักคือ การขับไล่รัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ป้าอัษบอกว่า วันนั้นเธอใส่แมสก์ อยู่บนรถ เว้นระยะห่างเพื่อความปลอดภัยและไม่สร้างผลกระทบต่อผู้ใช้รถใช้ถนนคนอื่นๆ แต่ก็ไม่วายถูกดำเนินคดีฐานฝ่าฝืนข้อกำหนดห้ามชุมนุมที่ออกเมื่อเพื่อควบคุมโรคโควิด และข้อหาอื่นๆ รวมห้าข้อ เธอเป็นใครมาจากไหน เหตุใดชาวหาดใหญ่ พื้นที่อันเป็นฐานที่มั่นของพรรครัฐบาลจึงออกมาร่วมคาร์ม็อบ ขับไล่รัฐบาล ชวนรู้จักชีวิตและประสบการณ์การต่อสู้ของป้าอัศที่หล่อหลอมให้เธอเป็นอีกหนึ่งคนที
51788020339_cdbe66a29e_o
อ่าน

“ไม่แออัด-ไม่ปลุกปั่น-ไม่มีหลักฐาน”: ทบทวนคำสั่ง ‘ไม่ฟ้อง-ยกฟ้อง’ ในคดี พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ตลอดปี 2564 – ต้นปี 2565

พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ หรือ พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 กฎหมายที่ให้อำนาจพิเศษแก่รัฐบาลควบคุมสถานการณ์ที่อาจกระทบต่อความสงบเรียบร้อยของประชาชนหรือเพื่อความปลอดภัยของประเทศ ได้ถูกนำมาใช้เพื่อควบคุมการระบาดของไวรัสโควิด-19 ตั้งแต่ 26 มีนาคม 2563 โดยมีทั้งข้อห้ามมิให้บุคคลออกนอกเคหสถานภายในระยะเวลาที่กำหนด ห้ามการเสนอข่าวสารที่บิดเบือนข้อมูลข่าวสาร ห้ามการใช้เส้นทางคมนาคม กระทั่งการห้ามมิให้มีการชุมนุมรวมตัวกัน  
51552009943_b6b0ebc0ab_o
อ่าน

เมื่อพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ที่จะใช้คุมโรค กลายเป็นเครื่องมือหลักในการ “คุมม็อบ”

นับตั้งแต่ประเทศไทยและโลกเผชิญกับการระบาดของโรคโควิด19 การทำกิจกรรมพบปะสังสรรค์ การรวมกลุ่มพูดคุย รวมทั้งการชุมนุมเพื่อแสดงออกซึ่งเป็นกิจกรรมตามธรรมชาติของสังคมมนุษย์ก็กลายเป็นกิจกรรมที่เกิดขึ้นได้ยากลำบาก ในประเทศไทยนับตั้งแต่การประกาศใช้พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ เมื่อวันท่ี 26 มีนาคม 2563 เพื่อควบคุมการระบาดของโรค ข้อจำกัดการรวมตัวก็จตามมา และการชุมนุมโดยสงบที่เคยเป็นสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานก็กลายเป็นเรื่องต้องห้าม  
50290783567_e6e57ccf65_w
อ่าน

การตั้งข้อกล่าวหาผู้ใช้เสรีภาพการแสดงออกประจำปี 2563

การตั้งข้อกล่าวหาผู้ใช้เสรีภาพการแสดงออกประจำปี 2563