Thaisangthai Constitutional Amendment
อ่าน

ไทยสร้างไทยล่ารายชื่อ #แก้รัฐธรรมนูญ เลือกตั้ง สสร. ทำรัฐธรรมนูญใหม่ ห้ามแตะหมวด 1 หมวด 2

พรรคไทยสร้างไทย ทำร่าง #แก้รัฐธรรมนูญ ชวนประชาชน 50,000 คน เข้าชื่อเสนอให้รัฐสภาพิจารณาต่อไป โดยร่างของไทยสร้างไทยต้องการเปลี่ยนแปลงวิธีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ให้การพิจารณาในวาระที่หนึ่งและวาระที่สาม ต้องใช้เสียงเห็นชอบไม่น้อยกว่า "3 ใน 5" ของจำนวน ส.ส. และ ส.ว. และต้องการเพิ่มหมวดการจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่โดย สสร. ที่มาจากการเลือกตั้งโดยมีเงื่อนไขว่า สสร ห้ามแก้ไขหมวดที่ 1 และ 2
52063392829_4625204871_h
อ่าน

‘ยก 2 ลง 2’ เปิดคำพิพากษาคดี 112 นับถึงพฤษภาคม 2565

ความผิดฐานหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ฯตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 เป็นกฎหมายที่ถูกนำมาใช้ดำเนินคดีผู้ที่แสดงออกทางการเมืองอย่างต่อเนื่อง คดีของอำพลหรือ ‘อากง SMS’ ดารณีหรือ ‘ดา ตอร์ปิโด’ และสมยศ พฤกษาเกษมสุข คือตัวอย่างของคดีมาตรา 112 ที่เกิดขึ้นเป็นคดีแรกๆในช่วงปี 2551-2554 หลังการรัฐประหารในวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 ถูกคณะรักษาความสงบแห่งชาตินำมาใช้อย่างเข้มข้นและเป็นระบบกับผู้ที่แสดงออกทางการเมืองจนทำให้ตลอดระยะเวลากว่า 5 ปี ที่คสช.อยู่ในอำนาจ มีคนถูกตั้งข้อกล่าวหาด้วยมาตรา 112 อย่างน้อย
con-1
อ่าน

ร่างรัฐธรรมนูญประชาชนต้องไปต่อ สภาต้องบรรจุสมัยหน้าพิจารณาพร้อมร่างพรรครัฐบาล-ฝ่ายค้าน

24 กันยายน 2563 ที่ประชุมรัฐสภามีมติเสียงข้างมากให้ตั้งคณะกรรมาธิการเพื่อพิจารณาญัตติแก้รัฐธรรมนูญที่พรรคร่วมรัฐบาลและพรรคร่วมฝ่ายค้านเป็นผู้เสนอก่อนลงมติรับหลักการ (วาระแรก) โดยคาดว่าต้องใช้กรอบเวลาพิจารณาประมาณ 30 วัน และเริ่มพิจารณาใหม่อีกครั้งในสมัยประชุมหน้า
Q&A about how to Submission a Petition for Introducing the Constitution
อ่าน

Q&A ตอบทุกคำถาม อยากลงชื่อ #แก้รัฐธรรมนูญ ต้องทำอย่างไรบ้าง

ระหว่างการล่ารายชื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญมีคำถามเข้ามามากมาย หลายคนสงสัยว่าต้องทำอย่างไร มีขั้นตอนใดบ้าง เราจึงรวบรวมคำถามหลักๆ ที่พบบ่อยๆ มาลองอธิบายแบบสั้นๆ ไว้ที่นี่ที่เดียว
50147399006_4dfea8b0dd_o
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.เข้าชื่อเสนอกฎหมายฉบับใหม่ ล่ารายชื่อออนไลน์ได้

ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงในด้านเทคโนโลยีที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว ทำให้ พ.ร.บ.เข้าชื่อเสนอกฎหมายฯ ที่บังคับใช้อยู่ไม่สอดคล้องกับวิถีชีวิตตามยุคสมัย ดังนั้น จึงมีความพยายามจากภาครัฐให้มีการแก้ไขกฎหมายดังกล่าว ซึ่งในปัจจุบัน มีร่างกฎหมายอยู่อย่างน้อยสองฉบับที่ปรากฎต่อสาธารณะ ได้แก่ ฉบับที่เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) พรรคก้าวไกล และฉบับคณะรัฐมนตรี โดยจุดร่วมของร่างกฎหมายสองฉบับนี้ คือ การส่งเสริมระบบการเข้าชื่อเสนอกฎหมายผ่านช่องทางออนไลน์ 
photo_2019-06-23_16-06-04
อ่าน

เครือข่ายประชาชนร่วมแถลงวาระแรก ปักหมุด ! ปลดอาวุธ คสช.

เครือข่ายประชาชนจัดงานกิจกรรมวาระแรกประชาชน ปักหมุด ปลดอาวุธ คสช. เพื่อร่วมกันแถลงเหตุผลที่ต้องเข้าชื่อเพื่อยกเลิกประกาศ/คำสั่ง คสช.35 ฉบับ(มีบางฉบับที่คสช.ยกเลิกเองไปแล้วเหลือจริงๆประมาณ 22 ฉบับ ) โดยรวบรวมตัวแทนจากทุกเครือข่ายทุกประเด็นที่ได้รับผลกระทบจากคำสั่ง คสช. ทั้ง 23 องค์กร มาร่วมแถลง
10000ชื่อ-T
อ่าน

พร้อมแล้ว! ประชาชน 10,000+ เตรียมเสนอกฎหมาย “ปลดอาวุธคสช.”

มียอดประชาชนเข้าชื่อเสนอกฎหมายยกเลิกประกาศและคำสั่ง คสช. อย่างน้อย 13,037 คน มากกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำตามรัฐธรรมนู
200918_pta_qte_cover
อ่าน

เสียงคนรุ่นใหม่ต่อ ‘กฎหมายพิเศษ’ ของคสช.

ภายใต้บรรดาประกาศและคำสั่งของคสช. มีคนรุ่นใหม่จำนวนหนึ่งสะท้อนออกมาว่า พวกเขาไม่เห็นด้วยกับกฎหมายเหล่านี้ โดยเฉพาะการใช้อำนาจพิเศษเพื่อตอบสนองนโยบาย คสช. อย่างเช่น เช่น การเรียกบุคคลเข้ารายงานตัว การห้ามชุมนุมทางการเมือง การควบคุมการทางานของสื่อมวลชน 
อ่าน

คุยกับ “รูน” มัทนา อัจจิมา สมาชิกกลุ่มคนอยากเลือกตั้ง: ทำไมการชุมนุมจึงเป็นหน้าที่

ไอลอว์จัดรายการ "คืนวันพุธ ปลดอาวุธคสช." โดยมีแขกรับเชิญเปฺ็น "รูน" มัทนา อัจจิมา คือ หนึ่งในผู้ต้องหาคดี MBK39 เพื่อมาพูดคุยถึงที่มาที่ไป ว่าอะไรคือความคิด ความเชื่อและแรงผลักดันที่ทำให้เธอออกไปชุมนุม รวมถึงผลกระทบหลังเป็นผู้ต้องหาทางการเมือง