52516521204_fcfc2e8ca1_o
อ่าน

RECAP เสวนา 112 Never Forget: หนึ่งคนใช้ (กฎหมาย) หลายคนเดือดร้อน

วันที่ 20 พฤศจิกายน 2565 ที่สโมสรนิสิตคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไอลอว์จัดกิจกรรมเปิดตัวหนังสือ “Never Stop คนและคดียังไปต่อ” มีวงสนทนากับผู้ได้รับผลกระทบจากมาตรา 112 “Never Forget: หนึ่งคนใช้ (กฎหมาย) หลายคนเดือดร้อน”  โดยมีผู้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเป็นจำเลยคดีมาตรา 112 ได้แก่ สุริยศักดิ์ ฉัตรพิทักษ์กุล อดีตแกนนำนปช.
52499161435_a388cb31fe_o
อ่าน

RECAP 112 : ชวนรู้จักคดี “พรชัย” หนุ่มปกาเกอะญอที่เดินทางไกล “ขึ้นเหนือ-ล่องใต้”

ชวนรู้จักกับจำเลยคดีมาตรา 112 คนสำคัญ ที่ชะตาชีวิตของเขาไม่ง่าย ภายใต้ชีวิตที่ต้องสู้ ต้องทำมาหากิน ก็ต้องมาตกเป็นจำเลยคดีที่สำคัญของยุคสมัยแถมเป็นคดี “ทางไกล” ที่สร้างภาระในชีวิตถึงสองคดี ต้องผ่านการเข้าเรือนจำ การอดอาหารประท้วงในเรือนจำ การติดโควิดในเรือนจำ และเส้นทางคดีของเขาข้างหน้ายังอาจมีเรือนจำรออยู่ (1) พรชัย หรือชื่อเล่นที่เขาตั้งให้ตัวเอง คือ มาริโอ้ พื้นเพเป็นชาติพันธุ์ปกาเกอะญอ เกิดและเติบโตในอำเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน เมื่อโตขึ้น พรชัยเดินทางเข้าไปใช้ชีวิตและแสวงหา “อนาคต” ในกรุงเทพมหานคร และใช้ชีวิตในเมืองหลวงเป็นหลักต่อเนื่องมากว่า 20 ปี&nbs
52591124909_fe30abe0d5_o
อ่าน

แนวโน้มคำพิพากษาคดีมาตรา 112 ในปี 2565

*ข้อมูล ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2565 ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 เป็นกฎหมายอาญาที่มีบทลงโทษหนักคือจำคุกตั้งแต่ 3-15 ปี มักจะถูกนำมาบังคับใช้ในทางจำกัดเสรีภาพการแสดงออกและใช้ในการจัดการขั้วตรงข้ามทางการเมือง ระหว่างการรัฐประหาร 2557 เป็นอีกช่วงเวลาที่มาตรา 112 ถูกนำมาใช้ปราบปรามประชาชน การบังคับใช้ในช่วงเวลาดังกล่าวเห็นถึงปัญหาของตัวบทกฎหมายที่เปิดโอกาสให้ตีความกว้างขวาง การลงโทษหนักหน่วงและจำเลยบางคนไม่สามารถอุทธรณ์หรือฎีกาได้เนื่องจากคดีอยู่ในอำนาจการพิจารณาของศาลทหารและเหตุแห่งคดีเกิดระหว่างมีการประกาศกฎอัยการศึก แต
268163214_10166157691410551_5271788686774571506_n
อ่าน

บอย: “ผมแค่อยากจะเห็นอีสานที่ดีขึ้น และส่งประเทศที่ดีขึ้นให้คนรุ่นถัดไป”

พงศธรณ์ ตันเจริญ หรือ สหายบอย เป็นนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม วิทยาลัยการเมืองการปกครอง สาขาวิชาการเมืองการปกครอง ชั้นปีที่ 3 สหายบอยเป็นแกนนำแนวร่วมนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคามเพื่อประชาธิปไตย โดยเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2564 สหายบอยได้มีนัดหมายฟังคำสั่งฟ้องข้อหาตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 เหตุจากคดีการชุมนุม #25พฤศจิกาไปSCB เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2563 ที่กลุ่มราษฎรนัดหมายชุมนุมบริเวณหน้าสำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ แต่ในการชุมนุมดังกล่าวมีการนำตู้คอนเทนเนอร์และลวดหนาม พร้อมทั้งเจ้าหน้าที่ตำรวจตระเวนชายแดนจำนวนมากมาวางกำลังจึงทำให้กลุ่มราษฎรต้องเปลี่ยนแปลงสถานที่ไปเป็นบริเวณธนาคารไทยพาณ
263219719_10166125254665551_1679274039228579989_n
อ่าน

“บุญลือ” : ชีวิตที่ไม่อาจเดินตามความฝันเพราะคดี 112

บุญลือ (นามสมมติ) เป็นบัณฑิตจบใหม่จากคณะนิติศาสตร์ เขามีความฝันที่อยากจะทำงานเป็นข้าราชการเพราะต้องการที่จะทำให้คนในครอบครัวของเขามีชีวิตที่สบาย แต่แล้วทุกสิ่งก็เปลี่ยนไปเมื่อเขาถูกแจ้งความดำเนินคดีหมิ่นพระมหากษัตริย์ เขาได้รับหมายเรียกให้ไปรับทราบข้อกล่าวหาจากการคอมเมนต์ในเพจเฟสบุ๊กเกี่ยวกับการวิพากษ์วิจารณ์การเมืองและสถาบันกษัตริย์ เขาถูกกล่าวหาแจ้งความดำเนินคดีที่จังหวัดพังงา โดยเขาต้องเดินทางจากจังหวัดสุโขทัยเพื่อไปรับทราบข้อกล่าวหาเป็นระยะทางกว่า 1,185 กิโลเมตร จากนี้ไปคือความเป็นมาของตน, ที่มาของการดำเนินคดี รวมไปถึงชีวิตความเป็นอยู่หลังจากตกเป็นผู้ถูกกล่าวหาคดีหมิ่นพระมหากษัตริย์
259799370_10166088320150551_9052284695662764780_n
อ่าน

บาส มงคล: สองคดี 27 ข้อความ หลังเปิดตัวอดอาหารหน้าศาล

ในเดือนเมษายน 2564 ระหว่างที่ผู้ต้องหาและจำเลยที่มีชื่อเสียงหลายคน เช่น เพนกวิน พริษฐ์ ชิวารักษ์, ทนายอานนท์ นำภา, ไผ่ จตุภัทร์ ฯลฯ ถูกคุมขังอยู่ในเรือนจำด้วยคดีมาตรา 112 ชายหนุ่มวัย 28 ปี เดินทางจากบ้านที่จังหวัดเชียงรายมาที่หน้าศาลอาญาด้วยตัวคนเดียวและกระเป๋าเป้หนึ่งใบ เพื่อมาปักหลักเรียกร้องสิทธิการประกันตัวให้ผู้ต้องขังคดีการเมืองทุกคนโดยการ “อดอาหาร” เดินตามพริษฐ์ที่กำลังอดอาหารอยู่ในเรือนจำเช่นกัน บาสมาปักหลักอยู่หน้าศาลอาญา และวางแผนจะอยู่ยาว โดยไม่มีเพื่อนมาด้วย ไม่มีเครื่องนอน ไม่มีเต้นท์หรือมุ้ง ไม่มีป้ายบอกว่าเขากำลังประท้วงอะไร เขานั่งอยู่ที่ป้ายรถเม
265365353_10166136957850551_5110882646556075019_n
อ่าน

“กัลยา” : หมายเรียกทางไกลจากสุไหงโก-ลก

ในช่วงปี 2563-2564 ระหว่างที่บรรยากาศการเมืองของประเทศไทยเริ่มมีอุณหภูมิสูงขึ้น และประเด็นในการเคลื่อนไหวก็ขยับขึ้นสูงอย่างไม่เคยมีมาก่อน “กัลยา” (นามสมมติ) พนักงานบริษัทเอกชน เป็นคนหนึ่งที่ร่วมเคลื่อนไหวผ่านทั้งการไปเข้าร่วมการชุมนุม และการโพสต์ข้อความลงโซเชียลเหมือนเช่นคนอื่นๆ แต่รู้ตัวอีกทีก็มีหมายเรียกฐาน “หมิ่นประมาทกษัตริย์ฯ” ไปถึงที่บ้านแล้ว “กัลยา” อายุ 27 ปีในวันที่ได้รับหมายเรียก เป็นพนักงานบริษัทเอกชน อาศัยอยู่ที่จังหวัดนนทบุรี “กัลยา”ชื่นชอบทั้งเรื่องการเมืองและประวัติศาสตร์ตั้งแต่สมัยเด็ก ชอบอ่านหนังสือหาความรู้รอบตัว “กัลยา” สนใจในด้านการเมืองมากขึ
259702327_10166091948940551_2204863109163171925_n
อ่าน

“นคร” : “เราไม่เคยสนใจการเมือง แต่หลังจากโดน 112 เราจึงหันมาสนใจการเมืองมากขึ้น”

“นคร” เป็น LGBTQ+ ประกอบอาชีพเป็นช่างรับจ้างแต่งหน้า อยู่ที่จังหวัดเชียงราย และยังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 4 ของมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงราย เดิมทีนครไม่ได้มีความสนใจเกี่ยวกับการเมือง เขาเล่าว่าเขามีหน้าที่ใช้ชีวิตไปเรื่อย ๆ ตามที่สังคมเป็น แต่เมื่อปี 2563 นครทราบข่าวว่าเขาจะถูกดำเนินคดีมาตรา 112 จากสำนักข่าวทีวีช่องหนึ่งซึ่งได้รายงานข่าวว่า นครได้แชร์เนื้อหาเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ พร้อมระบุวันที่แชร์เนื้อหาอย่างชัดเจน แต่นครปฏิเสธเพราะเมื่อย้อนกลับดูไม่พบว่าเขาแชร์เนื้อหาเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ในวันดังกล่าวเลย ต่อมา ในช่วงปลายปี 2563 นครได้รับหมา
51712622103_b759d94a56_o (1)
อ่าน

บีม: “เรื่องนี้ทำให้เราไม่มีความสุขไปแล้วกับการแค่โพสต์ข้อความที่เป็นความจริง”

พุทธศักราช 2563-2564 เป็นห้วงเวลาที่ประเทศไทยมีผู้ถูกดำเนินคดีด้วยมาตรา 112 มากที่สุดในประวัติศาสตร์ โดยการกระทำที่ส่งผลให้มีคนถูกฟ้องเป็นจำนวนมากที่สุด ไม่ใช่การปราศรัยหรือการเผาทำลายพระบรมฉายาลักษณ์ หากแต่เป็นเพียงการ “โพสต์แสดงความคิดเห็น” ในช่องทางออนไลน์อย่างเฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ นับถึงปลายเดือนพฤศจิกายน 2564 มีจำนวนคดีมากถึง 82 คดี ซึ่งคิดเป็นเกือบ 50% จากทั้งหมด 166 คดี หนึ่งในตัวเลขจำนวนคดีดังกล่าว คือคดีของอรรฆพล (สงวนนามสกุล) หรือบีม กราฟิกดีไซน์เนอร์จากกรุงเทพฯ อายุ 25 ปี ผู้ถูกฟ้องด้วยมาตรา 112 จากการโพสต์ข้อความที่ใครหลายคนอาจเคยเห็นผ่านตาว่า..
112 cartoon_0
อ่าน

รายงานการตั้งข้อหาหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ (มาตรา112) ก่อนรัฐประหาร 2557

  รายชื่อผู้ถูกตั้งข้อหาหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ ก่อนรัฐประหาร 2557   หมายเหตุ: สามารถคลิกที่ชื่อ เพื่อดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ (/) ไม่มีบันทึกของข้อมูล