อ่าน

ภาคประชาชนเสนอกฎหมาย “เพิ่มโทษ-สร้างกลไก” ป้องกันการอุ้มหายซ้อมทรมาน

คำสั่งไม่ฟ้องของอัยการต่อหกผู้ต้องหาในคดีฆาตกรรม 'บิลลี่' พอละจี รักจงเจริญ แกนนำกะเหรี่ยงแก่งกระจานที่หายตัวไปตั้งแต่ปี 2557 ที่ต่อมาถูกพบเป็นศพ ท่ามกลางความเห็นที่แตกต่างของกรมสอบสวนคดีพิเศษเกี่ยวกับพยานหลักฐาน ทำให้ปัญหาช่องโหว่ในกระบวนการยุติธรรมเกี่ยวกับการบังคับให้บุคคลสูญหาย หรือ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า 'การอุ้มหาย' ถูกนำมาพูดถึงอีกครั้ง   ปัญหาสำคัญของคดีอุ้มหายที่สำคัญ คือ กระบวนการยุติธรรมที่ขาดความสม่ำเสมอและมีหลายมาตรฐาน รวมถึงขาดกลไกและผู้รับผิดชอบโดยตรง ซึ่งเป็นปัญหาเดียวกันกับคดีซ้อมทรมานผู้ต้องหาที่ขาดกฎหมายที่สามารถบังคับใช้ได้เป็
Amnesty Report
อ่าน

ยกย่องบทบาทคนรุ่นใหม่ที่ลุกขึ้นสู้ ภายใต้การกดขี่เสรีภาพทั้งภูมิภาค

แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนลแถลงเปิดตัวรายงานสถานการณ์สิทธิมนุษยชนประจำปีในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก โดยระบุว่า กระแสการประท้วงทั่วเอเชียที่มีเยาวชนเป็นแกนนำ ถือเป็นความพยายามในการต่อต้านการปราบปรามที่เพิ่มขึ้นและการจำกัดเสรีภาพในการแสดงออกและการชุมนุมอย่างสงบทั่วภูมิภาค
IMG_0492
อ่าน

แถลงการณ์กป.อพช.ใต้ ขอให้เร่งดำเนินคดีข่มขู่คุกคามนักปกป้องสิทธิชุมชน ด้วยความเป็นธรรม

กป.อพช.ใต้ออกแถลงการณ์กรณีเอกชัย อิสระทะถูกชายฉกรรจ์อุ้มไปจากเวทีประชาพิจารณ์เหมืองหินปูน จังหวัดพัทลุงเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2562
6be688ae63b5df352fd0b55e8e6e332c (Edited)
อ่าน

ผู้ลี้ภัยชาวไทยสูญหายเพิ่มอย่างน้อย 3 คน ยังไม่ทราบชะตากรรม

9 พฤษภาคม 2562 เพียงดิน รักไทออกมาเปิดเผยว่า ผู้ลี้ภัยการเมืองในลาวอย่างน้อย 3 คน ถูกส่งตัวกลับไทยแล้ว แต่ไม่มีความคืบหน้
NLA Watch
อ่าน

กฎหมายคุ้มครองสิทธิ ทำไมต้องรีบผ่านในช่วงโค้งสุดท้ายของ สนช.

ช่วงโค้งสุดท้าย ก่อนที่ สนช. จะหมดอายุไปภายหลังการเลือกตั้ง มีกฎหมายที่เป็นประโยชน์กับประชาชนถูกเสนอหรือเตรียมที่จะเสนอเข้าสู่การพิจารณาจำนวนไม่น้อย ตัวอย่างเช่น ร่างพ.ร.บ.คู่ชีวิต ร่างพ.ร.บ.ป้องกันการทรมานฯ วิเคราะห์เหตุจูงใจทางการเมืองทำไมถึงมากันเยอะในช่วงนี้
Hate Crime to LGBT
อ่าน

“อุ้มฆ่าทอม” ภาพสะท้อนอคติทางเพศสู่ความรุนแรงที่แสนลึกลับซับซ้อน

จากกรณีข่าวสะเทือนขวัญสังคม เมื่อเจ้าหน้าที่รัฐกลายเป็นผู้ต้องหา “อุ้มฆ่า” สุภัคสรณ์ พลไธสง ผู้ซึ่งมีอัตลักษณ์ทางเพศเป็นทอม จนนำไปสู่วงเสวนาเพื่อสะท้อนปัญหาจากการมีอคติหรือเกลียดชังต่อความแตกต่างทางเพศที่นำไปสู่ความรุนแรง ภายใต้ชื่องาน “อุ้ม ซ้อมทรมาน ฆาตกรรม: อาชญากรรมแห่งความเกลียดชังต่อ “ทอม” และความหลากหลายทางเพศ ที่โรงแรมเอเชีย กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2559 ที่ผ่านมา
อ่าน

ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: ถ้ายอมรับการจับ ‘จ่านิว’ กลางดึก เท่ากับยอมให้ทุกคนเสี่ยงถูก ‘อุ้มหาย’

บทบรรณาธิการจากไอลอว์ หลังติดตามเก็บข้อมูลการลักพาตัวผู้คนภายใต้รัฐบาลคสช.มาตั้งแต่หลังยึดอำนาจ จนถึงกรณีล่าสุดการบุกอุ้ม "จ่านิว" จากหน้ามหาวิทยาลัยกลางดึก ซึ่งแสดงให้เห็นว่าประชาชนไทยอยู่ในภาวะเสี่ยงถูกบังคับให้สูญหายได้ทุกเมื่อ
ภาพคนใจหาย
อ่าน

เข้าใจความหมายของการ “อุ้มหาย” เขียนกฎหมายให้แก้ปัญหา

เราอาจเคยเห็นพาดหัวข่าวตามหน้าหนังสือพิมพ์ ว่า “อุ้มหาย” หรือ “อุ้มฆ่า” โดยเหยื่ออาจเป็นผู้มีอิทธิพล หรือ ผู้ที่แสดงความคิดเห็นต่างกับรัฐ บางคนอาจคิดในใจว่า “เป็นปุ๋ยไปแล้วมั๊ง!” หรือไม่ก็ “พวกนี้มันมาเฟียจริงๆ!” ซึ่งหากพิจารณาในแง่กฎหมาย การ “อุ้มหาย” ที่เห็นกันตามหน้าข่าว จริงๆ แล้วเป็นความผิดตามกฎหมายฐานใด และใครบ้างที่เป็นผู้เสียหาย